รับซื้อโน๊ตบุ๊ค จังหวัดเลย
รับซื้อโน๊ตบุ๊ค จังหวัดเลย บริการรับซื้อถึงที่ ให้ราคาสูงที่สุด รับซื้อโน๊ตบุ๊คมือสอง
สวัสดีครับวันนี้เรามาแนะนำทีมงาน รับซื้อโน๊ตบุ๊ค ในจังหวัดเลย ที่ให้ราคาสูงที่สุดและยังมีบริการไปรับถึงหน้าบ้านของท่าน
เพียงแอดไลน์แอด @webuy มีตัว @ ด้วย ท่านสามารถส่งรูปโน๊ตบุ๊ค ให้ทีมงานตีราคาก่อนได้เลย
หรือโทรด่วน 064-257-9353 คุณโน๊ต
เราพร้อมจะประสานงานทีมงานเพื่อไป รับซื้อโน๊ตบุ๊ค ของท่านถึงที่
**** ที่สำคัญ เราไม่รับของโจร ของผิดกฏหมายทุกกรณี ****
รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอเมืองเลย,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอวังสะพุง,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอนาด้วง,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอเอราวัณ,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอท่าลี่,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอหนองหิน,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอเชียงคาน,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอภูเรือ,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอภูหลวง,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอภูกระดึง,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอด่านซ้าย,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอปากชม,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอผาขาว,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอนาแห้ว
รับซื้อโน๊ตบุ๊ค,รับซื้อโน๊ตบุ๊คจังหวัดเลย,รับซื้อคอมจังหวัดเลย ,รับซื้อมือถือจังหวัดเลย,รับซื้อไอโฟนจังหวัดเลย,รับซื้อไอแพดจังหวัดเลย,รับซื้อกล้องจังหวัดเลย,รับซื้อลำโพงจังหวัดเลย,รับซื้อทีวีจังหวัดเลย ,รับซื้อ notebook จังหวัดเลย, รับซื้อ macbook จังหวัดเลย,รับซื้อ iphone จังหวัดเลย , รับซื้อ ipad จังหวัดเลย , รับซื้อ computer จังหวัดเลย , รับซื้อ server จังหวัดเลย
ขั้นตอนในการ ขายโน๊ตบุ๊ค ง่ายๆ
1 แอดไลน์ @webuy ส่งรูปให้ทีมงานตีราคา รับซื้อโน๊ตบุ๊คจังหวัดเลย
2 ตกลงซื้อขายราคากันได้สำเร็จ ทีมงานแจ้งนัดเวลาที่เข้ารับซื้อโน๊ตบุ๊ต
3 ทีมงานเข้าตรวจสอบโน๊ตบุ๊คของท่านว่าเป็นไปตรงตามที่ตกลงกันไว้หรือไม่
4 ตกลงซื้อขายแลกเปลี่ยนกันได้รับเงินสดทันที
ขายโน๊ตบุ๊คกับเราดียังไง ทำไมต้องขายกับเรา รับซื้อโน๊ตบุ๊คจังหวัดเลย
เรามีบริการรับซื้อถึงที่ ให้ราคาสูงที่สุด สามารถประเมินราคาก่อนตกลงซื้อขายกันได้ ถ้าพอใจในราคาจึงตกลงซื้อขายกันครับ
เรารับได้ไม่อั้น มี 1 เครื่องก็รับ มี 100 เครื่องเราก็รับ
ไม่ต้องเทียบราคาที่อื่นยาก เราให้สูงที่สุด พอใจในราคาตกลงกันได้เลย
แอดไลน์ @webuy ( มีตัว @ ด้วย ) หรือโทร 064-2579353 แนะนำให้ติดต่อผ่านไลน์
จังหวัดไหนบ้างที่เรามีบริการ รับซื้อโน๊ตบุ๊ค
เรารับซื้อ.com กำลังขยายเขตการ รับซื้อโน๊ตบุ๊ค มือสองให้ครอบคลุมทั่วภาคอีสาน ในขณะนี้เราสามารถรับซื้อได้ในทุกจังหวัดในภาคอีสาน โดยทีมงานมืออาชีพ
หนองคาย นครพนม สกลนคร อุดรธานี หนองบัวลำภู เลย มุกดาหาร กาฬสินธุ์ ขอนแก่น อำนาจเจริญ ยโสธร ร้อยเอ็ด มหาสารคาม ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี
รับซื้อโน๊ตบุ๊ค ขอนแก่น ต้องการขายโน๊ตบุ๊ค เพียงแอดไลน์ @webuy ส่งรูปโน๊ตบุ๊ค ตีราคา ตกลงขายกันได้ทันที รับซื้อโน๊ตบุ๊คทุกจังหวัด รับซื้อโน๊ตบุ๊ค จังหวัดเลย
รับซื้อโน๊ตบุ๊คหนองคาย,รับซื้อโน๊ตบุ๊คนครพนม, รับซื้อโน๊ตบุ๊คสกลนคร, รับซื้อโน๊ตบุ๊คอุดรธานี ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คหนองบัวลำภู ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คเลย ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คมุกดาหาร ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คกาฬสินธุ์, รับซื้อโน๊ตบุ๊คขอนแก่น ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คอำนาจเจริญ, รับซื้อโน๊ตบุ๊คยโสธร,รับซื้อโน๊ตบุ๊คร้อยเอ็ด, รับซื้อโน๊ตบุ๊คมหาสารคาม ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คชัยภูมิ, รับซื้อโน๊ตบุ๊คนครราชสีมา ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คบุรีรัมย์, รับซื้อโน๊ตบุ๊คสุรินทร์,รับซื้อโน๊ตบุ๊คศรีสะเกษ ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คอุบลราชธานี
ความแตกต่างในโน๊ตบุ๊ค แต่ละแบบ
โน้ตบุ๊คแต่ละแบบมักจะแตกต่างกันตามลักษณะการใช้งาน สเปคที่มี และการออกแบบ ต่อไปนี้คือบางประเภทที่แตกต่างกันได้:
- ขนาดและน้ำหนัก: โน้ตบุ๊คมีขนาดและน้ำหนักที่แตกต่างกัน เริ่มตั้งแต่โน้ตบุ๊คเล็กที่สุดที่มีขนาดน้อยและน้ำหนักเบาสำหรับความสะดวกในการพกพา ไปจนถึงโน้ตบุ๊คที่มีขนาดใหญ่และน้ำหนักมากสำหรับการใช้งานที่ต้องการประสิทธิภาพสูง ซึ่งมักมีการเพิ่มพลังประมวลผล การ์ดจอ และอุปกรณ์เสริมอื่น ๆ
- สเปคของฮาร์ดแวร์: สเปคฮาร์ดแวร์ของโน้ตบุ๊คอาจแตกต่างกันไปตามการใช้งานที่ต้องการ เช่น โน้ตบุ๊คสำหรับการทำงานทั่วไปอาจมีฮาร์ดแวร์ที่น้อยกว่าโน้ตบุ๊คสำหรับเล่นเกม โดยมีความสำคัญในสเปคเช่น ชิปเซ็ต (CPU), การ์ดจอ (GPU), หน่วยความจำ (RAM), และพื้นที่จัดเก็บข้อมูล (Storage)
- การออกแบบและคุณสมบัติพิเศษ: โน้ตบุ๊คอาจมีคุณสมบัติพิเศษที่แตกต่างกัน เช่น บางโน้ตบุ๊คอาจมีจอที่สามารถหมุนได้ หรือมีการออกแบบที่ทนทานต่อการใช้งานภายนอก
- ระบบปฏิบัติการและซอฟต์แวร์ที่มากับโน้ตบุ๊ค: บางโน้ตบุ๊คอาจมีระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกัน เช่น Windows, macOS, หรือ Linux และมีซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ที่มากับโน้ตบุ๊คตามความเหมาะสมของผู้ผลิต
- ราคา: ราคาของโน้ตบุ๊คมักจะแตกต่างกันอย่างมากตามสเปคและคุณลักษณะพิเศษที่มี โดยโน้ตบุ๊คที่มีสเปคสูงและคุณลักษณะพิเศษมักจะมีราคาสูงกว่าโน้ตบุ๊คที่มีสเปคต่ำและคุณลักษณะน้อยลง
ประวัติจังหวัดเลย
เลย เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย ตั้งอยู่ในแอ่งสกลนครและอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 (กลุ่มจังหวัดสบายดี) ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 540 กิโลเมตร มีสภาพภูมิประเทศที่งดงาม อากาศหนาวเย็น เป็นแหล่งเพาะปลูกไม้ดอกไม้ประดับที่สำคัญแห่งหนึ่งของประเทศ และยังเป็นจังหวัดท่องเที่ยวที่สำคัญหลายแห่ง
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
ตราประจำจังหวัด: เป็นภาพพระธาตุศรีสองรัก ลักษณะอุเทสิกเจดีย์ สร้างเป็นอนุสรณ์การปักปันเขตแดนในรัชสมัยของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิแห่งกรุงศรีอยุธยากับพระเจ้าไชยเชษฐาแห่งกรุงศรีสัตนาคนหุต (เวียงจันทน์) ก่อสร้างเมื่อ พ.ศ. 2103 เสร็จเมื่อ พ.ศ. 2106 ตั้งอยู่วัดพระธาตุศรีสองรัก ซึ่งเป็นวัดที่ไม่มีพระภิกษุสงฆ์พำนัก ริมแม่น้ำหมัน บ้านหัวนายูง ตำบลด่านซ้าย อำเภอด่านซ้าย องค์พระธาตุก่ออิฐก่อปูน มีฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดกว้างด้านละ 10.47 เมตร สูง 19.19 เมตร บนยอดพระธาตุมีแก้วครอบเป็นโคม มีกระดิ่งลูกเล็กๆ แขวนอยู่เหนือโคมกรมศิลปากรประกาศให้เป็นโบราณสถานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2478
ธงประจำจังหวัด: ลักษณะสีเหลี่ยมผืนผ้าสีฟ้า มีตราประจำจังหวัดเลย เป็นรูปพระธาตุศรีสองรักอยู่ในวงกลมบนพื้นผ้าทั้งสองด้าน
เพลงประจำจังหวัด: มาร์ชเมืองเลย เนื้อร้อง: ครูพร พิรุณ ทำนอง: ครูเอื้อ สุนทรสนาน
ต้นไม้: สนสามใบ (Pinus kesiya) เป็นต้นไม้ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถทรงปลูกตามคำกราบบังคมทูลของนายเทียม คมกฤช อธิบดีกรมป่าไม้ เพื่อเป็นสิริมงคลและเป็นอนุสรณ์ในการเสด็จพระราชดำเนินขึ้นยอดภูกระดึง เมื่อเวลาเช้าของวันอาทิตย์ที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ.2498 (จากหนังสือรอยเสด็จมหาวิทยาลัยขอนแก่น 2540) และ สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ได้พระราชทานกล้าไม้มงคลให้กับ ผู้ว่าราชการจังหวัดเลย ในงานวันรณรงค์โครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในโอกาสที่ครองราชย์ปีที่ 50 เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2537 ณ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ให้เป็นต้นไม้ประจำจังหวัดเลย[4]
ดอกไม้: รองเท้านารีเหลืองเลย (Paphiopedilum hirsutissimum)
สัตว์น้ำ: ปลาเพ้า (Bangana lippus)
คำขวัญ: “เมืองแห่งทะเลภูเขา สุดหนาวในสยาม ดอกไม้งามสามฤดู ถิ่นที่อยู่อริยสงฆ์ มั่นคงความสะอาด”
ลักษณะรูปร่าง: มีรูปร่างคล้ายกับ ศีรษะของลูกไดโนเสาร์พันธุ์ไทรเซอราทอปส์ที่ไม่มีเขา
ความเป็นมา
ยุคก่อนประวัติศาสตร์
ดินแดนที่เป็นที่ตั้งจังหวัดเลยในปัจจุบัน เป็นชุมชนมาแต่โบราณ โดยมีหลักฐานทางโบราณคดี อาทิเช่น เครื่องมือหินซึ่งเป็นโบราณวัตถุสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ นอกจากนี้ยังมีขวานหินขัด กําไลหินขัด แถบอําเภอเชียงคาน ซึ่งเชื่อกันว่ากลุ่มชนแถบนี้ดํารงชีวิตภายใต้สังคมเกษตรกรรม มีการกําหนดอายุไว้ประมาณ 9,000 ปี 4,000 – 2,000 ปี ยุคสัมฤทธิ์ พบหลักฐานที่ทําให้สันนิษฐานได้ว่า มีการขุดแร่เหล็กและทองแดงใน บริเวณอําเภอปากชม และอําเภอเมืองเลย ขึ้นมาใช้
ยุคประวัติศาสตร์
พบหลักฐานใบเสมาในพื้นที่อําเภอวังสะพุง อายุประมาณ 1,000-1,200 ปี ซึ่งเป็นยุคทวารวดี และแหล่งโบราณคดีในพื้นที่อําเภอภูหลวง คาดว่ามีอายุใกล้เคียงกัน และในพื้นที่นี้มีชุมชนซึ่งมีความเจริญ จนมีสภาพเป็นเมือง อาทิ เมืองด่านซ้าย เมืองเชียงคาน เมืองท่าลี่ ส่วนเมืองเลย ได้ยกฐานะจากชุมชนบ้านแฮ่ ที่ตั้งอยู่ริมห้วยน้ําหมานซึ่งไหลจากภูเขาชื่อภูผาหมาน เป็นเมือง ในปี พ.ศ. 2396 โดยตั้งชื่อเมืองตามแม่น้ําใหญ่ ว่า“ เมืองเลย ” ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยให้ขึ้นกับเมืองหล่มสัก พร้อมทั้งแต่งตั้งหลวงศรีสงคราม (ท้าวคําแสน) เป็นเจ้าเมืองคนแรก
นักสํารวจชาวฝรั่งเศส ชื่อ เอเจียน แอมอนิเย ได้เดินทางมาค้นหาศิลาจารึกและมาถึงเมืองเลย เมื่อ 29 กุมภาพันธ์ 2426 บรรยายสภาพเมืองเลยและอ้างบันทึกของมูโฮร์ (Mouhot) นักสํารวจชาวฝรั่งเศส ซึ่งเดินทางมาถึงเมืองเลย ปี 2404 ว่า
“ …สภาพบ้านแฮ่ ตั้งอยู่ทั้งสองฝั่งห้วยน้ําหมาน ประกอบด้วยกระท่อมประมาณ 200 หลัง บนพื้นที่สูง น้ําไม่ท่วมถึง หมู่บ้านตั้งเรียงรายอยู่ใต้ร่มไม้ผล ใกล้กับทุ่งนา แม่น้ําเลยสามารถเดินเรือได้ในฤดูน้ําหลาก…”
“…ประชาชนครึ่งหนึ่งเป็นเกษตรกร และอีกครึ่งหนึ่งเป็นกรรมกรทํางานอุตสาหกรรม ผลิตอุปกรณ์การไถนา และมีดอีโต้ เพื่อจําหน่ายไปทั่วจังหวัดข้างเคียง จนถึงจังหวัดที่อยู่เลยโคราชขึ้นไปอีก แต่ว่าไม่มีโรงงาน ไม่มีเครื่องจักรไอน้ํา แล้วก็เป็นที่น่าสนใจ เมื่อเห็นว่าการตั้งเตาที่จะตีเหล็กนั้นมีราคาต่ำที่สุด คือ จะมีการขุดหลุมกว้าง 1 เมตรครึ่ง ที่ตีนเขา แล้วช่างเหล็กจะเอาก้อนแร่ใส่เข้าไปในหลุมนั้น แล้วเผาด้วยถ่านไฟ ที่มีความร้อนสูง เมื่อร้อนได้ที่แล้ว เหล็กก็จะไหลลงไปในหลุมที่พื้นดิน หลังจากนั้นก็จะนําเอาเหล็กเป็นก้อนออกจากหลุมดังกล่าวไปทําการตีเป็นเครื่องมือที่โรงตีเหล็ก …”
“…ที่นี่ก็จะมีหลุมในดินอีก และมีไฟเผา ซึ่งจะมีเด็กคอยสูบลมด้วยท่อลมแฝด 2 ท่อ ซึ่งทําด้วยท่อนไม้กลวง โดยเอาปลายด้านหนึ่งฝังลงในดิน ภายในท่อสูบลมนี้จะมีลูกสูบทําด้วยสําลีจากตัวท่อสูบลมนี้จะมีหลอดไม้ไผ่ 2 หลอด ต่อไปที่เตาเผาเหล็ก เพื่อนําอากาศเข้าไปในเตาเผาซึ่งจะทําให้ไฟลุกกล้าเป็น…”
“…คนเมืองเลยไปคล้องช้างป่าแถบภาคใต้ของจังหวัดในเขตภูหลวงและภูเขียว เวลาออกเดินทางพวกเขาจะทําการบวงสรวงวิญญาณด้วยเชือกยาวซึ่งมีบ่วงคล้องเอาช้างด้วยข้าว เหล้า เป็ด และไก่เสียก่อน นอกจากนั้นนายพรานจะให้คําแนะนําว่า ห้ามภรรยาทําการตัดผม หรือรับแขกต่างบ้านให้พักค้างคืนในบ้านเด็ดขาด ถ้าหากไม่ปฏิบัติตามข้อห้ามเหล่านี้ จะทําให้ช้างที่คล้องมาได้นั้นหลุดมือไป…”
ปี 2434 (รศ.110) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสังเกตเห็นว่าฝรั่งตั้งท่าจะรุกรานพระราชอาณาเขต จึงได้จัดการปกครองพระราชอาณาเขตเป็นมลฑล และ ปี 2435 กรมพระยาดํารงราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทยได้จัดระบบการปกครองใหม่ เมืองเลยจึงแยกจากเมืองหล่มสัก ยกฐานะขึ้นเป็นเมืองโดยให้ขึ้นกับ มลฑลลาวพวน ที่ตั้งบัญชาการที่เมืองหนองคาย ก่อนที่จะย้ายมาตั้งที่บ้านหมากแข้งใน ปี 2436 (รศ.116) และเปลี่ยนชื่อเป็นมลฑลอุดรภายหลัง และยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยระเบียบบริหารแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2476 มีอําเภอ ดังนี้
1. อําเภอกุดป่อง ( อําเภอเมืองเลย ในปัจจุบัน )
2. อําเภอท่าลี่
3. อําเภอด่านซ้าย ( โอนมาจากเมืองพิษณุโลก )
4. อําเภอวังสะพุง ( โอนมาจากเมืองหล่มสัก )
5. อําเภอเชียงคาน ( โอนมาจากเมืองพิชัย )
ประวัติศาสตร์
ก่อตั้งโดยชนเผ่าไทยที่สืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษที่ก่อตั้งอาณาจักรโยนกเชียงแสน โดยพ่อขุนบางกลางหาวและพ่อขุนผาเมือง (เชื่อถือกันว่าเป็นเชื้อสายราชวงศ์สิงหนวัติ) ได้มีผู้คนอพยพจากอาณาจักรโยนกเชียงแสนที่ล่มสลายแล้ว ผ่านดินแดนล้านช้าง ข้ามลำน้ำเหืองขึ้นไปทางฝั่งขวาของลำน้ำหมันถึงบริเวณที่ราบ พ่อขุนผาเมืองได้ตั้งบ้านด่านขวา (ปัจจุบันอยู่ในบริเวณชายเนินนาด่านขวา ซึ่งมีซากวัดเก่าอยู่ในแปลงนาของเอกชน ระหว่างหมู่บ้านหัวแหลมกับหมู่บ้านนาเบี้ย อำเภอด่านซ้าย) ส่วนพ่อขุนบางกลางหาวได้แบ่งไพร่พลข้ามลำน้ำหมันไปทางฝั่งซ้าย สร้างบ้านด่านซ้าย ต่อมาจึงได้อพยพเลื่อนขึ้นไปตามลำน้ำไปสร้างบ้านหนองคู และได้นำนามหมู่บ้านด่านซ้าย มาขนานนามหมู่บ้านหนองคูใหม่ เป็น “เมืองด่านซ้าย” อพยพไปอยู่ที่เมืองบางยางในที่สุด โดยมีพ่อขุนผาเมืองอพยพผู้คนติดตามไปตั้งเมืองราด (เชื่อว่าเป็นเมืองศรีเทพ อยู่ในท้องที่อำเภอศรีเทพและอำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์) และตั้งเมืองด่านซ้าย เป็นเมืองหน้าด่านทางตะวันออกของเมืองบางยาง
นอกจากนี้แล้ว ยังมีชาวโยนกอีกกลุ่มหนึ่งได้อพยพมาตั้งบ้านเรือนระหว่างชายแดนตอนใต้ของอาณาเขต ล้านนา ต่อแดนล้านช้างอยู่ชั่วระยะเวลาหนึ่ง ก่อนที่จะอพยพหนีภัยสงครามข้ามลำน้ำเหืองมาตั้งเมืองเซไลขึ้น (สันนิษฐานว่าอยู่ในท้องที่หมู่บ้านทรายขาว ตำบลทรายขาว อำเภอวังสะพุง) จากหลักฐานในสมุดข่อยที่มีการค้นพบ เมืองเซไลอยู่ด้วยความสงบร่มเย็นมาจนกระทั่งถึงสมัยเจ้าเมืองคนที่ 5 เกิดทุพภิกขภัย ข้าวยากหมากแพง ฝนฟ้าไม่ตก จึงได้พาผู้คนอพยพไปตามลำแม่น้ำเซไลถึงบริเวณที่ราบระหว่างปากลำห้วยไหลตกแม่เซไล จึงได้ตั้งบ้านเรือนขึ้นขนานนามว่า “บ้านแห่” (บ้านแฮ่) ส่วนลำห้วยให้ชื่อว่า “ห้วยหมาน”
ในปี พ.ศ. 2396 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพิจารณาเห็นว่า หมู่บ้านแฮ่ซึ่งตั้งอยู่ริมฝั่งห้วยน้ำหมาน และอยู่ใกล้กับแม่น้ำเลย มีผู้คนเพิ่มมากขึ้น สมควรจะได้ตั้งเป็นเมือง เพื่อประโยชน์ในการปกครองอย่างใกล้ชิด จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งเป็นเมืองเรียกชื่อตามนามของแม่น้ำเลยว่า เมืองเลย ขึ้นต่อเมืองเพชรบูรณ์อีกทีหนึ่ง ต่อมา พ.ศ. 2440 ได้มีประกาศใช้พระราชบัญญัติลักษณะปกครองพื้นที่ ร.ศ. 116 แบ่งการปกครองเมืองเลยออกเป็น 3 อำเภอ ได้แก่ อำเภอกุดป่อง อำเภอท่าลี่ (เดิมตำบลอาฮีเป็นอำเภอ แต่ถูกลดบทบาทลงเป็นตำบลเพราะอยู่ใกล้กับแม่น้ำเหือง เป็นผลมาจากการเสียดินแดนให้ลาวโดยประเทศฝรั่งเศส) อำเภอนากอก (ปัจจุบันอยู่ในประเทศลาว) อำเภอที่ตั้งเมืองคือ อำเภอกุดป่อง ต่อมา พ.ศ. 2442-2449 ได้เปลี่ยนชื่อเมืองเลยเป็น บริเวณลำน้ำเลย พ.ศ. 2449-2450 เปลี่ยนชื่อบริเวณลำน้ำเลยเป็นบริเวณลำน้ำเหือง และใน พ.ศ. 2450 ได้มีประกาศของกระทรวงมหาดไทยลงวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2450 ยกเลิกบริเวณลำน้ำเหือง ให้คงเหลือไว้เฉพาะ “เมืองเลย” โดยให้เปลี่ยนชื่ออำเภอกุดป่อง เป็น “อำเภอเมืองเลย”
ในปี พ.ศ. 2445 กรมมหาดไทย นำใบบอกพระยาสุริยวงษา เจ้าเมืองหล่มศัก กราบบังคมทูลว่ามีตราพระราชสีห์โปรดเกล้าฯ ขึ้นไปว่า เมืองเลย เมืองแก่นท้าว เมืองขึ้นเมืองเพชรบูรณ ร้องกล่าวโทษเมืองเพชรบูรณ จึงโปรดให้เมืองหล่มศักดูแลเมืองเลย เมืองแก่นท้าว ไปจนกว่าคดีจะแล้วเสร็จ ในกรณีนี้พระยาสุริยวงษา เห็นว่าพระศรีสงคราม เจ้าเมืองเลย ชราภาพ อายุ 80 ปี เกรงจะรับราชการต่อไปไม่ได้ จึงได้ขอพระราชทานเลื่อนขึ้นเป็นจางวางกำกับดูแลราชการ และได้ขอพระราชทานท้าววรบุตร ว่าที่อุปฮาด เป็นพระศรีสงครามเจ้าเมืองเลย รับราชการฉลองพระเดชพระคุณต่อไป[5]
ในปี พ.ศ. 2567 นาย ชัยธวัช เนียมศิริ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดเลยได้รับการเลือกตั้งเป็นนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเลยนับเป็นอดีตผู้ว่าคนแรกของจังหวัดที่ได้รับตำแหน่งนายกอบจ.