รับซื้อโน๊ตบุ๊ค

รับจำนำอำนาจเจริญ รับจำนำอำนาจ รับจำนำคอมอำนาจเจริญ

รับจำนำอำนาจเจริญ

รับจำนำอำนาจเจริญ ร้านรับจำนำโน๊ตบุ๊คใกล้ฉัน รับจำนำคอม อำนาจเจริญ  รับจำนำคอมอำนาจ รับจำนำโน๊ตบุ๊ค อำนาจ สนใจจะจำนำ  โน๊ตบุ๊ค  อำนาจเจริญ เราพร้อมจะรับ  notebook  อำนาจเจริญ

Add Line id : @webuy     (มีเครื่องหมาย @ด้วย)  หรือ โทรด่วน 064-2579353 มีทีมงานรอรับของ และตีราคาให้ 24 ชั่วโมง !

รับซื้อแอดไลน์

ติดต่อทีมงานผ่านไลน์แอด ตีราคา ไปรับสินค้าหรือนำมาที่ร้าน รับเงินทันที

รับจำนำคอมอำนาจเจริญ รับจำนำโน๊ตบุ๊คอำนาจเจริญ รับฝากคอมอำนาจเจริญ รับฝากโน๊ตบุ๊คอำนาจเจริญ รับจำนำมือถือ รับจำนำไอโฟน รับจำนำไอแพด อำนาจเจริญ

รับซื้อ โน๊ตบุ๊ค อำนาจเจริญ รับซื้อโน๊ตบุ๊คใกล้ฉัน รับซื้อโน๊ตบุ๊คAcer รับซื้อโน๊ตบุ๊คLenovo รับซื้อโน๊ตบุ๊คAsus รับซื้อโน๊ตบุ๊คROG รับซื้อโน๊ตบุ๊คHuawei รับซื้อโน๊ตบุ๊คHP

รับซื้อโน๊ตบุ๊คNitro5 รับซื้อโน๊ตบุ๊คASUS Tuf รับซื้อโน๊ตบุ๊คHP Omen รับซื้อโน๊ตบุ๊คROG Strix รับซื้อโน๊ตบุ๊คASUS RUG

รับจำนำอำนาจเจริญ

เรารับซื้อ คืออะไร ?

เรารับซื้อ.com มีบริการ เรารับซื้อโน๊ตบุ๊ค รับซื้อคอมพิวเตอร์ รับซื้อไอโฟน รับซื้อไอแพด รับซื้อMacbook รับซื้อโทรศัพท์มือถือ  รับไม่อั้นไม่จำจัดจำนวน สนใจจะขายโน๊ตบุ๊ค คอม ไอโฟน แอดไลน์ @webuy เพื่อให้ทางทีมงานช่วยตีราคาให้ ไม่ต้องยุ่งยากเดินทางไปที่ร้านก็สามารถรู้ราคาที่เรารับซื้อได้ สะดวกสบายที่สุดที่เรามอบให้คุณ  แอดไลน์ @webuy (มีเครื่องหมาย @ ด้วย )

 

ขายกับเรา ดียังไง ?

  • ให้ราคาดี ไม่กดราคา รับซื้อโน๊ตบุ๊ค รับซื้อคอม รับซื้อไอโฟน
  • ทำงานรวดเร็ว ตีราคาให้ได้ 24 ชั่วโมง เพียงแอดไลน์ @webuy ( มีเครื่องหมาย @ ด้วย )
  • จะเข้ามาที่ร้าน หรือ ให้เราไปรับเองถึงที่ก็ได้ มีทีมงานเดินทางไปรับถึงบ้านท่าน
  • รับซื้อหลายรายการ ทั้ง โน๊ตบุ๊ค คอมพิวเตอร์ ไอโฟน ไอแพด แม็คบุ๊ค โทรศัพท์มือถือ 
  • ได้รับเงินทันทีเมื่อตกลงซื้อขายกันเสร็จ ไม่ต้องรอนาน

 

รับจำนำอำนาจเจริญ

ความเป็นมา
จังหวัดอำนาจเจริญ จัดตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2536 โดยแยกออกจากจังหวัดอุบลราชธานี และจัดตั้งเป็นจังหวัดที่ 75 ของประเทศไทย อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร 568 กิโลเมตร ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานคร โดยทางรถยนต์ประมาณ 586 กิโลเมตร (ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1, 2 และ 202) อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 (อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ)

ลักษณะทางกายภาพ
ที่ตั้งและอาณาเขต
จังหวัดอำนาจเจริญตั้งอยู่ระหว่างเส้นรุ้งที่ 15 องศา 30 ลิปดาเหนือ ถึง 16 องศา 30 ลิปดาหนือ และเส้นแวงที่ 104 องศา 15 ลิปดาตะวันออก ถึง 105 องศา ลิปดาตะวันออก มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 1,975,780 ไร่ หรือ 3,161.29 ตารางกิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้

ทิศเหนือ : ติดเขตจังหวัดยโสธร ที่อำเภอเลิงนกทา และจังหวัดมุกดาหารที่อำเภอดอนตาล

ทิศใต้ : ติดเขตจังหวัดอุบลราชธานี ที่อำเภอม่วงสามสิบ

ทิศตะวันออก : ติดเขตประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ตามแนวฝั่งแม่น้ำโขงด้านอำเภอชานุมาน เป็นระยะทาง 38 กิโลเมตร และจังหวัดอุบลราชธานีที่อำเภอเขมราฐ อำเภอกุดข้าวปุ้น และอำเภอตระการพืชผล

ทิศตะวันตก : ติดเขตจังหวัดยโสธร ที่อำเภอป่าติ้ว และอำเภอเลิงนกทา

แผนที่จังหวัดอำนาจเจริญ

สภาพภูมิประเทศ
สภาพภูมิประเทศ โดยทั่วไปเป็นที่ลุ่มมีเนินเขาเตี้ยๆ ทอดยาวไปจรดจังหวัดอุบลราชธานี ที่อำเภอชานุมาน ตั้งอยู่สูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางเฉลี่ยประมาณ 68 เมตร (227 ฟุต) สภาพดินโดยทั่วไปเป็นดินร่วนปนทรายและดินลูกรังบางส่วน มีลำน้ำสายใหญ่ไหลผ่าน ได้แก่ ลำเซบก และลำเซบาย

ข้อมูลทางการปกครอง/ประชากร
จังหวัดอำนาจเจริญมีประชากร ณ 31 ธันวาคม 2563 จำนวนทั้งสิ้น 376,195 คน แบ่งเป็นเพศชาย 187,309 คน เพศหญิง 188,886 คน จำนวนครัวเรือน 120,188 ครัวเรือน จำแนกออกเป็นรายอำเภอได้ดังนี้รับ

 

1. ขนาดและที่ตั้ง

จังหวัดอำนาจเจริญเป็นที่ลุ่ม มีเนินเขาเตี้ย ๆ ทอดยาวไปจรดจังหวัดอุบลราชธานีที่อำเภอชานุมาน ลักษณะเป็นดินร่วนปนทรายและดินลูกรังบางส่วน พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลปานกลาง ประมาณ 227 ฟุต แบ่งการปกครองออกเป็น 7 อำเภอ คือ อำเภอเมือง อำเภอชานุมาน อำเภอปทุมราชวงศา อำเภอพนา อำเภอเสนางคนิคม อำเภอหัวตะพาน อำเภอลืออำนาจ
จังหวัดอำนาจเจริญ เป็นจังหวัดในตอนใต้ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งอยู่ระหว่าง เส้นรุ้งที่ 15 องศา 30 ลิปดาเหนือ ถึง 16 องศา 30 ลิปดาเหนือ และเส้นแวงที่ 104 องศา 15 ลิปดาตะวนออก ถึง 105 องศา 15 ลิปดาตะวันออก ห่างจากกรุงเทพมหานครโดยรถยนต์ประมาณ 568 กิโลเมตร แยกออกจากจังหวัดอุบลราชธานี เมื่อปี พ.ศ. 2536 มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 1,975,780 ไร่ หรือ 3,161.248 ตารางกิโลเมตร
มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้
ทิศเหนือ ติดเขตจังหวัดยโสธร ที่อำเภอเลิงนกทา และจังหวัดมุกดาหารที่อำเภอดอนตาล
ทิศตะวันออก ติดเขตประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ตามแนวฝั่งแม่น้ำโขงด้านอำเภอ
ชานุมานเป็นระยะทาง 38 กิโลเมตรและจังหวัดอุบลราชธานีที่อำเภอเขมราฐ อำเภอ
กุดข้าวปุ้น และอำเภอตระการพืชผล
ทิศตะวันตก ติดเขตจังหวัดยโสธรอำเภอป่าติ้วและอำเภอเลิงนกทา
ทิศใต้ ติดเขตจังหวัดอุบลราชธานี ที่อำเภอม่วงสามสิบ

2. ภูมิประเทศ และภูมิอากาศ
ภูมิประเทศ
สภาพภูมิประเทศ โดยทั่วไปเป็นที่ลุ่มมีเนินเขาเตี้ย ๆ ทอดยาวไปจรดจังหวัดอุบลราชธานีที่อำเภอ
ชานุมาน ตั้งอยู่สูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางเฉลี่ยประมาณ 68 เมตร (227) ฟุต สภาพดินโดยทั่วไปเป็น
ดินร่วนปนทรายและดินลูกรังบางส่วน มีแม่น้ำโขงเป็นแนวเขตกั้นจังหวัดอำนาจเจริญกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวที่อำเภอชานุมาน มีลำน้ำใหญ่ ๆ ไหลผ่าน
ภูมิอากาศ
ภูมิอากาศโดยทั่วไป จังหวัดอำนาจเจริญจัดอยู่ในเขตอากาศแบบ Tropical Savannah คือจะเห็น
ความแตกต่างของฤดูฝนและฤดูแล้งอย่างชัดเจน มีช่วงกลางวันยาวในฤดูร้อน และมีอุณหภูมิสูงตลอดปี
ฤดูฝนเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ถึงกลางเดือนตุลาคม ในปี พ.ศ. 2550 มีฝนตก 78 วัน ปริมาณน้ำฝน
วัดได้ 1,782.8 มิลลิเมตร ฤดูหนาวเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนมกราคม ฤดูร้อนเริ่มตั้งแต่เดือน
กุมภาพันธ์ ถึงเมษายน

3. ทรัพยากร และแหล่งน้ำธรรมชาติ

จังหวัดอำนาจเจริญมีลำน้ำที่สำคัญไหลผ่าน 3 สาย คือ
1. แม่น้ำโขง เป็นแม่น้ำขนาดใหญ่เป็นเส้นกั้นแดนระหว่างประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวโดยถือร่องน้ำลึกเป็นแนวเขตแม่น้ำโขงนับว่ามีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของจังหวัดเป็นอย่างยิ่ง
2. ลำเซบก ต้นน้ำเกิดในท้องที่จังหวัดอำนาจเจริญ อยู่ทางใต้ของจังหวัดไหลผ่านตำบลดงมะยาง ตำบลอำนาจ ตำบลเปือย ตำบลไร่ขี ไปสิ้นสุดที่ตำบลจานลานไหลลงสู่แม่น้ำมูล
3. ลำเซบาย ต้นน้ำเกิดในจังหวัดอำนาจเจริญ มีน้ำไหลตลอดทั้งปีเป็นแม่น้ำสายหลักของชุมชนทางด้านตะวันตกของจังหวัดไหลผ่านตำบลน้ำปลีก ตำบลหัวตะพานสิ้นสุดที่ตำบลสร้างถ่อน้อย ไหลลงสู่ลำเซบกและแม่น้ำมูล
4. ป่าไม้ จังหวัดอำนาจเจริญมีพื้นที่ประมาณ 1,975,81.25 ไร่ ปัจจุบันทีเนื้อที่ป่าทุกประเภทคงเหลือประมาณร้อยละ 10 ประเภทของป่าไม้ส่วนใหญ่เป็นป่าเต็งรัง ป่าไม้ชนิดมีค่า ได้แก่ ยาง ประดู่ แดง เต็ง รัง เป็นต้น พื้นที่ป่ามีความอุดมสมบูรณ์อยู่ในบริเวณพื้นที่ตอนบนแนวเขตติดต่อกับจังหวัดมุกดาหารและจังหวัดยโสธร อีกทั้งยังเป็นแหล่งต้นน้ำของพื้นที่ใกล้เคียงจังหวัดอำนาจเจริญ มีพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ จำนวน 13 แห่ง พื้นที่ป่าสงวนในท้องที่จังหวัดตามกฎกระทรวง รวม 890,348 ไร่

4. การคมนาคมขนส่ง

การคมนาคมระหว่างกรุงเทพ ฯ และจังหวัดอำนาจเจริญ สะดวกสบายทั้งทางรถยนต์ รถไฟ หรืออาจใช้ทางอากาศ โดยใช้บริการของสนามบินนานาชาติที่จังหวัดอุบลราชธานี
ทางรถยนต์ ใช้ทางหลวงหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) และทางหลวงหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) จากนั้นใช้ทางหลวงหมายเลข 226 นครราชสีมา – สุรินทร์ และใช้ทางหลวงหมายเลข 214 สุรินทร์ – อำเภอสุวรรณภูมิแล้วแยกขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 202 ผ่านจังหวัดยโสธร และอำเภอป่าติ้ว ถึงจังหวัดอำนาจเจริญรวมระยะทาง 580 กิโลเมตร หรือสามารถใช้ทางหลวงหมายเลข 1 และหมายเลข 2 จากนั้นใช้ทางหลวงหมายเลข 226 นครราชสีมา อุบลราชธานี ถึงจังหวัดอุบลราชธานี แล้วใช้ทางหลวงหมายเลข 212 อุบลราชธานี – อำนาจเจริญ รวมเป็นระยะทาง 704 กิโลเมตร
5. ลักษณะชุมชน

ชุมชนตามเขตการปกครองของจังหวัดอำนาจเจริญแบ่งการปกครองออกเป็น 7 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอชานุมาน อำเภอพนา อำเภอปทุมราชวงศา อำเภอเสนางคนิคม อำเภอหัวตะพาน อำเภอลืออำนาจ ประกอบด้วย 56 ตำบล 607 หมู่บ้าน การปกครองส่วนท้องถิ่นประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลเมือง 1 แห่ง เทศบาลตำบล 20 แห่ง องค์การบริหารส่วนตำบล 42 แห่ง
ผังเมืองรวมจังหวัดอำนาจเจริญได้แบ่งชุมชนตามลำดับความสำคัญเป็น 4 ลำดับ ดังนี้
1) ชุมชนศูนย์กลางลำดับที่ 1 มี 1 แห่ง ได้แก่ เทศบาลเมืองอำนาจเจริญ เป็นศูนย์กลางจังหวัดที่มีบทบาทด้านการบริหารการปกครอง พาณิชยกรรม การบริการ การเกษตร การบริการสาธารณสุข ซึ่งสามารถให้บริการแก่ประชาชนภายในจังหวัด
2) ชุมชนศูนย์กลางลำดับที่ 2 มี 1 แห่ง ได้แก่ เทศบาลตำบลนาหว้าใหญ่ มีบทบาทด้านการซื้อขายผลผลิตทางการเกษตรและปศุสัตว์
3) ชุมชนศูนย์กลางลำดับที่ 3 มี 5 แห่ง ได้แก่ เทศบาลตำบลเสนางคนิคม เทศบาลตำบลอำนาจ เทศบาลตำบลหัวตะพาน เทศบาลตำบลชานุมาน เทศบาลตำบลพนา เป็นศูนย์กลางระดับอำเภอที่มีบทบาททางด้านพาณิชยกรรม และการบริการพื้นฐาน สำหรับชุมชนชานุมานเป็นชุมชนที่มีบทบาทด้านการค้าชายแดน
4) ชุมชนศูนย์กลางลำดับที่ 4 มี 2 แห่ง ได้แก่ เทศบาลตำบลน้ำปลีก เทศบาลตำบลนายมเป็นศูนย์กลางระดับท้องถิ่นให้บริการแก่พื้นที่ชุมชนชนบทโดยรอบ

6. สภาพเศรษฐกิจ การเงิน

มูลค่าส่วนใหญ่มาจากภาคเกษตรกรรม การล่าสัตว์และการป่าไม้ มีมูลค่า 3212 คิดเป็นร้อยละ 25.58 ได้แก่ ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง เป็นต้น รองลงมาอยู่นอกภาคเกษตร ได้แก่ ขายส่ง ขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ จักรยานยนต์ ของใช้ส่วนบุคคล ของใช้ในครัวเรือน
สินค้าการเกษตรของจังหวัดมีศูนย์กลางอยู่ที่อำเภอเมืองอำนาจเจริญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางสินค้าอุปโภค – บริโภค และเป็นแหล่งกระจายสินค้าไปยังแต่ละอำเภอของจังหวัด
ปศุสัตว์เป็นสาขาหนึ่งที่มีแนวโน้มที่จะสูงขึ้น แต่การลงทุนด้านนี้พบว่ายังมีน้อย สัตว์ที่มีมาได้แก่ ไก่ โค เป็ด สุกร และกระบือ ตามลำดับ ส่วนประมงเป็นการเลี้ยงตามแหล่งน้ำธรรมชาติและบ่อเลี้ยงของสำนักงาน หน่วยงานรัฐแจกจ่ายพันธ์ปลาส่งเสริมการเลี้ยงปลาแก่เกษตรกร นอกจากนี้ ยังมีการประกอบธุรกิจทางการค้าและการบริการ ส่วนภาคอุตสาหกรรม ยังมีสัดส่วนค่อนข้างน้อย

7. สภาพสังคม

ประชากรส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ชุมชน อำเภอเมืองอำนาจเจริญ โครงสร้างประชากรเป็นชาวไทยอีสาน มีไทยเชื้อสายจีน เชื้อสายลาวและเชื้อสายเวียดนามอยู่เล็กน้อย จะพบลักษณะของการพึ่งพาอาศัยกันในชุมชน ส่วนใหญ่นับถือพุทธศาสนา
เทศกาล งานประเพณี
ชาวอำนาจเจริญมีวิถีชีวิตอยู่บนพื้นฐานของประเพณี อันเป็นวัฒนธรรมดั้งเดิมของชาวอีสานทั่วไป คือ มีฮีตสิบสอง คองสิบสี่ หมายถึงประเพณีสิบสองเดือนที่ยึดถือปฏิบัติกันมาจนถึงปัจจุบัน คำว่า “ฮีต” มาจากคำว่า “จารีต” ส่วนมากมักจะเป็นงานบุญที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาเป็นหลัก เช่น งานบุญกฐิน งานบุญบั้งไฟ งานบุญข้าวจี่ งานบุญเดือนสิบสอง (ลอยกระทง) งานบุญสรงน้ำ (สงกรานต์) เป็นต้น ส่วน “คองสิบสี่” หมายถึง ครรลองคลองธรรม หรือแบบแผนในการประพฤติ ปฏิบัติสิบสี่ประการ
ส่วนด้านวัฒนธรรมของชาวอำนาจเจริญที่มีชื่อเสียงก็คือ การทอผ้าไหม ที่มีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง เช่น ผ้าไหมบ้านจานลาน ผ้าไหมบ้านสร้อย ที่อำเภอพนา และผ้าไหมบ้านเปือย ผ้าไหมบ้านหัวดง และผ้าไหมบ้านน้ำท่วม ที่กิ่งอำเภอลืออำนาจ เป็นต้น นอกจากนั้นที่อำเภอชานุมานประชาชนส่วนใหญ่สืบเชื้อสายมาจากชาวภูไทหรือผู้ไทย ที่อพยพมาจากประเทศสารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ชาวภูไทมีความสามารถในการทอผ้าขิดเป็นพิเศษ การให้สีสันและลวดลายของผ้า จะเป็นเอกลักษณ์ของภูไทโดยเฉพาะ และยังมีดนตรีนาฎศิลป์พื้นบ้าน ได้แก่ หมอลำ ที่มีเนื้อหาในการส่งเสริมการปกครองระบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข
นอกจากนั้นชาวอำนาจเจริญ ยังมีดำริที่จะฟื้นฟู “ประเพณีลงข่าว” ซึ่งเป็นวิถีชีวิตแบบหนึ่งของชาวจังหวัดอำนาจเจริญในสมัยเก่า ให้เป็นขนบธรรมเนียมประเพณีประจำจังหวัด “การลงข่าว” เป็นการชุมนุมกันของหนุ่มสาว ที่ฝ่ายสาวจะมีกิจกรรมทอผ้า สาวไหม เป็นต้น ขณะเดียวกันพวกหนุ่มๆ ก็จะมาร่วมวงสนุกโดยบรรเลงเพลงพื้นบ้านด้วยเครื่องดนตรีพื้นบ้าน อาทิ แคน พิณ ประกอบกับกิจกรรมทอผ้า และสาวไหม และที่อำเภอชานุมาน ในเดือนพฤศจิกายน ของทุกปี ทางจังหวัดจัดให้มีประเพณีการแข่งเรือยาว ซึ่งมีเรือจากอำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร เรือจากอำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี เรือจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และเรือจากอำเภอชานุมาน จังหวัดอำนาจเจริญ มาร่วมแข่งขัน เพื่อเป็นการเชื่อมสันพันธไมตรี งานแข่งเรือจัดขึ้นที่บริเวณท่าน้ำแม่น้ำโขง หน้าที่ว่าการอำเภอชานุมาน ช่วงเช้าและช่วงบ่ายจะเป็นการแข่งเรือ ส่วนตอนกลางคืนบริเวณที่ว่าการอำเภอจะมีการออกร้านขายสินค้า และมีมหรสพสมโภชตลอดทั้งคืน

Similar Posts

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *