รับซื้อโน๊ตบุ๊ค

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค หนองบัวลำภู บริการรับซื้อถึงที่ ให้ราคาสูงที่สุด

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค หนองบัวลำภู บริการรับซื้อถึงที่ ให้ราคาสูงที่สุด รับซื้อโน๊ตบุ๊คมือสอง

สวัสดีครับวันนี้เรามาแนะนำทีมงาน รับซื้อโน๊ตบุ๊ค ในจังหวัดหนองบัวลำภู ที่ให้ราคาสูงที่สุดและยังมีบริการไปรับถึงหน้าบ้านของท่าน 

เพียงแอดไลน์แอด @webuy  มีตัว @ ด้วย ท่านสามารถส่งรูปโน๊ตบุ๊ค ให้ทีมงานตีราคาก่อนได้เลย

หรือโทรด่วน 064-257-9353  คุณโน๊ต

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค acer อุบลรับซื้ออุบล

เราพร้อมจะประสานงานทีมงานเพื่อไป รับซื้อโน๊ตบุ๊ค ของท่านถึงที่

****    ที่สำคัญ เราไม่รับของโจร ของผิดกฏหมายทุกกรณี     ****

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอนากลาง‎ ,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอนาวัง,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอโนนสัง,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอเมืองหนองบัวลำภู‎,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอศรีบุญเรือง‎,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอสุวรรณคูหา‎

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค,รับซื้อโน๊ตบุ๊คหนองบัวลำภู,รับซื้อคอมหนองบัวลำภู ,รับซื้อมือถือหนองบัวลำภู,รับซื้อไอโฟนหนองบัวลำภู,รับซื้อไอแพดหนองบัวลำภู,รับซื้อกล้องหนองบัวลำภู,รับซื้อลำโพงหนองบัวลำภู,รับซื้อทีวีหนองบัวลำภู ,รับซื้อ notebook หนองบัวลำภู, รับซื้อ macbook หนองบัวลำภู,รับซื้อ iphone หนองบัวลำภู , รับซื้อ ipad หนองบัวลำภู , รับซื้อ computer หนองบัวลำภู , รับซื้อ server หนองบัวลำภู

ขั้นตอนในการ ขายโน๊ตบุ๊ค ง่ายๆ  

1 แอดไลน์ @webuy ส่งรูปให้ทีมงานตีราคา รับซื้อโน๊ตบุ๊ค หนองบัวลำภู

2 ตกลงซื้อขายราคากันได้สำเร็จ ทีมงานแจ้งนัดเวลาที่เข้ารับซื้อโน๊ตบุ๊ต

3 ทีมงานเข้าตรวจสอบโน๊ตบุ๊คของท่านว่าเป็นไปตรงตามที่ตกลงกันไว้หรือไม่

4  ตกลงซื้อขายแลกเปลี่ยนกันได้รับเงินสดทันที

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค

ขายโน๊ตบุ๊คกับเราดียังไง ทำไมต้องขายกับเรา รับซื้อโน๊ตบุ๊คหนองบัวลำภู

เรามีบริการรับซื้อถึงที่ ให้ราคาสูงที่สุด สามารถประเมินราคาก่อนตกลงซื้อขายกันได้ ถ้าพอใจในราคาจึงตกลงซื้อขายกันครับ

เรารับได้ไม่อั้น มี 1 เครื่องก็รับ มี 100 เครื่องเราก็รับ

ไม่ต้องเทียบราคาที่อื่นยาก เราให้สูงที่สุด พอใจในราคาตกลงกันได้เลย

แอดไลน์ @webuy ( มีตัว @ ด้วย ) หรือโทร 064-2579353 แนะนำให้ติดต่อผ่านไลน์

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค ยโสธร

จังหวัดไหนบ้างที่เรามีบริการ รับซื้อโน๊ตบุ๊ค

เรารับซื้อ.com กำลังขยายเขตการ รับซื้อโน๊ตบุ๊ค มือสองให้ครอบคลุมทั่วภาคอีสาน ในขณะนี้เราสามารถรับซื้อได้ในทุกจังหวัดในภาคอีสาน โดยทีมงานมืออาชีพ

หนองคาย นครพนม สกลนคร อุดรธานี หนองบัวลำภู เลย มุกดาหาร กาฬสินธุ์ ขอนแก่น อำนาจเจริญ ยโสธร ร้อยเอ็ด มหาสารคาม ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค ขอนแก่น ต้องการขายโน๊ตบุ๊ค เพียงแอดไลน์ @webuy ส่งรูปโน๊ตบุ๊ค ตีราคา ตกลงขายกันได้ทันที รับซื้อโน๊ตบุ๊คทุกจังหวัด รับซื้อโน๊ตบุ๊ค จังหวัดหนองบัวลำภู

 

รับซื้อโน๊ตบุ๊คหนองคาย,รับซื้อโน๊ตบุ๊คนครพนม, รับซื้อโน๊ตบุ๊คสกลนคร, รับซื้อโน๊ตบุ๊คอุดรธานี ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คหนองบัวลำภู ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คเลย ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คมุกดาหาร ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คกาฬสินธุ์, รับซื้อโน๊ตบุ๊คขอนแก่น ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คอำนาจเจริญ, รับซื้อโน๊ตบุ๊คยโสธร,รับซื้อโน๊ตบุ๊คร้อยเอ็ด, รับซื้อโน๊ตบุ๊คมหาสารคาม ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คชัยภูมิ, รับซื้อโน๊ตบุ๊คนครราชสีมา ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คบุรีรัมย์, รับซื้อโน๊ตบุ๊คสุรินทร์,รับซื้อโน๊ตบุ๊คศรีสะเกษ ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คอุบลราชธานี

ความแตกต่างในโน๊ตบุ๊ค แต่ละแบบ

โน้ตบุ๊คแต่ละแบบมักจะแตกต่างกันตามลักษณะการใช้งาน สเปคที่มี และการออกแบบ ต่อไปนี้คือบางประเภทที่แตกต่างกันได้:

  1. ขนาดและน้ำหนัก: โน้ตบุ๊คมีขนาดและน้ำหนักที่แตกต่างกัน เริ่มตั้งแต่โน้ตบุ๊คเล็กที่สุดที่มีขนาดน้อยและน้ำหนักเบาสำหรับความสะดวกในการพกพา ไปจนถึงโน้ตบุ๊คที่มีขนาดใหญ่และน้ำหนักมากสำหรับการใช้งานที่ต้องการประสิทธิภาพสูง ซึ่งมักมีการเพิ่มพลังประมวลผล การ์ดจอ และอุปกรณ์เสริมอื่น ๆ
  2. สเปคของฮาร์ดแวร์: สเปคฮาร์ดแวร์ของโน้ตบุ๊คอาจแตกต่างกันไปตามการใช้งานที่ต้องการ เช่น โน้ตบุ๊คสำหรับการทำงานทั่วไปอาจมีฮาร์ดแวร์ที่น้อยกว่าโน้ตบุ๊คสำหรับเล่นเกม โดยมีความสำคัญในสเปคเช่น ชิปเซ็ต (CPU), การ์ดจอ (GPU), หน่วยความจำ (RAM), และพื้นที่จัดเก็บข้อมูล (Storage)
  3. การออกแบบและคุณสมบัติพิเศษ: โน้ตบุ๊คอาจมีคุณสมบัติพิเศษที่แตกต่างกัน เช่น บางโน้ตบุ๊คอาจมีจอที่สามารถหมุนได้ หรือมีการออกแบบที่ทนทานต่อการใช้งานภายนอก
  4. ระบบปฏิบัติการและซอฟต์แวร์ที่มากับโน้ตบุ๊ค: บางโน้ตบุ๊คอาจมีระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกัน เช่น Windows, macOS, หรือ Linux และมีซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ที่มากับโน้ตบุ๊คตามความเหมาะสมของผู้ผลิต
  5. ราคา: ราคาของโน้ตบุ๊คมักจะแตกต่างกันอย่างมากตามสเปคและคุณลักษณะพิเศษที่มี โดยโน้ตบุ๊คที่มีสเปคสูงและคุณลักษณะพิเศษมักจะมีราคาสูงกว่าโน้ตบุ๊คที่มีสเปคต่ำและคุณลักษณะน้อยลง

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค HP อุบลราชธานี

ประวัติจังหวัด หนองบัวลำภู

หนองบัวลำภู เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย ตั้งอยู่ในแอ่งสกลนครและอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน เป็นหนึ่งในสามจังหวัดที่ได้รับการจัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2536 พร้อมกับจังหวัดอำนาจเจริญและจังหวัดสระแก้ว

สัญลักษณ์ประจำจังหวัด

คำขวัญประจำจังหวัด : ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช อุทยานแห่งชาติภูเก้าภูพานคำ แผ่นดินธรรมหลวงปู่ขาว เด่นสกาวถ้ำเอราวัณ นครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน
ตราประจำจังหวัด : ภาพพระบรมรูปของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชประทับยืนหน้าศาลของพระองค์ ซึ่งตั้งอยู่หน้าหนองบัวลำภู
ต้นไม้ประจำจังหวัด : ต้นพะยูง (Dalbergia cochinchinensis)
ดอกไม้ประจำจังหวัด : ดอกบัวหลวง (Nymphaea lotus)
สัตว์น้ำประจำจังหวัด : ปลาสร้อยขาวหรือปลาขาวสร้อย (Henicorhynchus siamensis)

ดอกบัวหลวง ดอกไม้ประจำจังหวัดหนองบัวลำภู
ประวัติศาสตร์
สมัยก่อนประวัติศาสตร์ – สมัยทวารวดี – สมัยขอม
จังหวัดหนองบัวลำภูเป็นดินแดนที่อยู่อาศัยของมนุษย์ตั้งแต่สมัยก่อนประว้ติศาสตร์ ดังหลักฐานที่ขุดค้นพบ จากแหล่งโบราณคดีกุดกวางสร้อยกุดค้อเมย[3] ขุดพบโครงกระดูกมนุษย์ กำไลสำริด กำไลหิน แม่พิมพ์ทำจากหินทรายสำหรับใช้หล่อหัวขวานสำริด เครื่องมือเหล็ก ลูกปัดแก้ว เป็นต้น อายุประมาณ 2,500 ปี ซึ่งสถานที่ขุดค้นพบอยู่ที่บ้านกุดกวางสร้อยและบ้านกุดค้อเมย อำเภอโนนสัง บริเวณเชิงเขาภูพานด้านทิศตะวันตกและเชิงเขาภูเก้าด้านทิศตะวันออก ซึ่งแหล่งโบราณคดีสองแห่งนี้มีอายุใกล้เคียงกับวัฒนธรรมบ้านเชียง

ประมาณ พ.ศ. 1100 – พ.ศ. 1500 ในพื้นที่จังหวัดหนองบัวลำภูได้ค้นพบวัตถุสมัยทวารวดี เช่น ใบเสมา ที่ภูน้อย วัดพระธาตุเมืองพิณ อำเภอนากลาง และวัดป่าโนนคำวิเวก อำเภอสุวรรรคูหา

ประมาณ พ.ศ. 1500 – พ.ศ. 1700 ในพื้นที่จังหวัดหนองบัวลำภูได้รับวัฒนธรรมขอมหรือเขมร พบโบราณสถานหรือโบราณวัตถุที่เป็นศิปละขอมหรือเขมร เช่น ฐานวิหารศิลาแลง ศิลาจารึกวัดพระธาตุเมืองพิณ และอักษรขอมโบราณที่วัดป่าโนนคำวิเวก อำเภอสุวรรณคูหา

สมัยสุโขทัย
พ.ศ. 1896 – พ.ศ. 1961 ในสมัยสุโขทัย เป็นสมัยอาณาจักรล้านช้างก่อกำเนิดในภาคอีสาน ซึ่งตรงกับรัชสมัยพระเจ้าฟ้างุ้มและพระเจ้าสามแสน[4] พื้นที่ส่วนใหญ่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้รับอิทธิพลและเป็นเขตอาณาจักรล้านช้าง ครอบคลุมภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนจนไปถึงแอ่งโคราช และกระจายชุมชนเข้ามาสู่แอ่งสกลนครจนไปถึงบริเวณพระธาตุพนม เลยลงไปถึงแดนเขมรจนปัจจุบันเรียกว่า อีสานใต้ (จากพงศาวดารล้านช้าง) พื้นที่ในจังหวัดหนองบัวลำภูจึงได้รับอิทธิพลล้านช้างซึ่งแพร่หลายในขณะนั้นในบริเวณแอ่งสกลนคร และรับศาสนาพุทธลัทธิลังกาวงศ์ (นิกายเถรวาท) เป็นศาสนาประจำถิ่นตามผู้ปกครองอาณาจักร

สมัยอยุธยา
ประมาณ พ.ศ. 2106 พระไชยเชษฐาธิราชกษัตริย์แห่งกรุงศรีสัตนาคนหุต (กรุงเวียงจันทน์)[5] ได้นำผู้คนอพยพจากหลวงพระบางและเวียงจันทร์มาอาศัยอยู่ในเขตพื้นที่จังหวัดหนองบัวลำภู ในปีพ.ศ. 2106 หลังจากที่สร้างเมืองเวียงจันทร์ในปีพ.ศ. 2103 และก็อยู่ในระหว่างการสร้างพระธาตุศรีสองรัก ซึ่งภาคอีสานก็อยู่ในเขตอาณาจักรล้านช้าง ดังหลักฐานที่ปรากฏในหลักศิลาจารึกและได้สร้างพระพุทธรูปประดิษฐานไว้ในวัดถ้ำสวรรณคูหา อำเภอสุวรรณคูหา และนำไพร่พลมาบูรณะสร้างบ้านสร้างสาเมืองนครหนองบัวลุ่มภูขึ้นใหม่อีกครั้งที่ริมหนองบัว (หนองซำซ้าง) ซึ่งเป็นเมืองเก่าสมัยขอมเรืองอำนาจ พระไชยเชษฐาธิราชได้สร้างพระพุทธรูป วิหาร และขุดบ่อน้ำในบริเวณวัดศรีคูณเมือง[6] และยกฐานะเป็นเมือง “เวียงจำปานครกาบแก้วบัวบาน” มีฐานะเป็นเมืองหน้าด่านของเมืองเวียงจันทน์ คนทั่วไปนิยมเรียกว่า “หนองบัวลุ่มภู” ซึ้งปัจจุบันเรียกเพี้ยนมาว่าหนองบัวลำภูถือว่าเป็นเมืองเอกล้านช้างตะวันตกของอาณาจักรล้านช้าง

ปี พ.ศ. 2117 ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ในระหว่างที่ไทยเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1 ให้แก่พม่าสมัยพระเจ้าหงสาวดี[ต้องการอ้างอิง] สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชได้ยกกองทัพช่วยพม่ารบกับกรุงเวียงจันทน์ โดยมีสมเด็จพระนเรศวรตามเสด็จพระราชบิดาช่วยรบ เนื่องจากพระไชยเชษฐาธิราชได้หายสาบสูญไปในระหว่างการรบปราบข่า ที่ลาวใต้ เวียงจันทน์เกิดการแย่งชิงราชสมบัติจึงได้ถือโอกาสเข้าตีกรุงเวียงจันทน์ สมเด็จพระมหาธรรมราชาและสมเด็จพระนเรศวร นำกองทัพเสด็จประทับแรมที่บริเวณหนองบัว เนื่องจากมีทัศนียภาพที่สวยงามและมีแหล่งน้ำเพื่อใช้ในการอุปโภคบริโภคในบริเวณนั้น สมเด็จพระนเรศวรได้ทรงพระประชวรด้วยไข้ทรพิษ พระเจ้าหงสาวดีได้รับข่าวจึงอนุญาตให้สมเด็จพระนเรศวรเดินทางกลับเพื่อรักษาพระองค์

ประมาณปี พ.ศ. 2302 ตรงกับสมัยพระเจ้าเอกทัศน์กษัตริย์องค์สุดท้ายของกรุงศรีอยุธยา เจ้าอุปราชนอง(เจ้านอง) ขุนนางล้านช้างเชื้อสายไทพวน อุปราชในพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 หรือพระเจ้าไชยองค์เว้ มีบุตรชาย 2 คน คือ พระวอซึ่งมีบรรดาศักดิ์เป็นพระวรราชภักดีและพระตาซึ่งมีบรรดาศักดิ์เป็นพระวรราชปิตา มีภูมิลำเนาเดิมที่บ้านหินโงม เป็นเสนาบดีของพระเจ้ากรุงเวียงจันทน์มาตั้งแต่สมัยพระเจ้าสิริบุญสารหรือเจ้าองค์บุญ เป็นผู้ดูแลผลประโยชน์ฝ่ายนอกของกษัตริย์กรุงเวียงจันทน์ ภายหลังมีเรื่องขัดใจกับพระเจ้าศิริบุญสาร พระวอและพระตาได้อพยพไพร่พลข้ามลำน้ำโขงมาตั้งภูมิลำเนา มาบูรณะสร้างบ้านแปลงเมืองที่ “เวียงจำปานครกาบแก้วบัวบาน”ให้เป็นเวียงใหม่เป็นเวียงนครใหญ่ชื่อว่า เวียงใหม่นครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบานซึ่งแข็งเมืองไม่ขึ้นกับนครหลวงเวียงจันทน์อีกต่อไป มีกฏบัญญัติบ้านเมือง มีเจ้าผู้ครองเมือง มีดินแดนกำแพงคูเมืองล้อมรอบพร้อมประตูเวียง มีแม่น้ำแม่พระเนียงเป็นสายหลัก มีเมืองขึ้นของตัวเอง ได้แก่เมืองนาด้วง ภูเวียง ผาขาว พรรณา พร้อมผู้คนและช้างเผือกคู่เวียง

สมัยธนบุรี
ปีจุลศักราช 1140 ปีจอ สัมฤทธิศก ตรงกับปี พ.ศ. 2321 ตรงกับปลายสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช[7] พระเจ้าศิริบุญสารแห่งเมืองเวียงจันทน์ยกทัพมาตีพระวอและพระตาที่เมือง “นครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน” (ชื่อจังหวัดหนองบัวลำภูในสมัยนั้น) ทำการสู้รบกันที่ช่องน้ำจั่น (น้ำตกเฒ่าโต้) บนภูพานคำใช้เวลาอยู่ประมาณ 3 ปี ฝ่ายเวียงจันทน์ขอกำลังจากพม่ามาช่วยรบ จึงสามารถตีเมืองแตกได้ พระตาถูกข้าศึกฆ่าในสนามรบ ส่วนพระวออพยพหนีไปตามลุ่มแม่น้ำชี ลงไปขอพึ่งบารมีพระเจ้าไชยกุมาร ที่นครจำปาศักดิ์ และได้อนุญาตให้ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ตำบลเวียงดอนกอง (หรือเรียกว่าบ้านดู่บ้านแก) หลังจากนั้นพระวอเกิดผิดใจกับพระเจ้าไชยกุมาร จึงได้อพยพผู้คนขึ้นมาตั้งเมืองอยู่ที่ดอนมดแดง (ปัจจุบันคือจังหวัดอุบลราชธานี) แล้วขอพึ่งพระบรมโพธิสมภารของพระเจ้ากรุงธนบุรี ดังความในพระราชพงศาวดารกรุงธนบรีว่า

“…ในปีจอนั้น ฝ่ายข้างกรุงศรีสัตนาคนหุต พระวอผู้หนึ่งเป็น อุปฮาด มีความพิโรธขัดเคืองมาตั้งอยู่ ณ หนองบัวลำภู ซ่องสุมผู้คนได้มากจึงสร้างขึ้นเป็นเมืองตั้งค่ายเสาไม้แก่นให้ชื่อเมือง จัมปานครแขวงกาบแก้วบัวบาน แล้วแข็งเมืองต่อพระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุต พระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุตแต่งกองทัพให้ยกมาตี พระวอก็ต่อรบตีทัพล้านช้างแตกกลับไป แล้วพระวอแต่งให้ขุนนางนำเครื่องราชบรรณาการขึ้นไปเมืองอังวะขอกองทัพพม่าลงมาตีกรุงศรีสัตนาคนหุต พระเจ้าอังวะให้แมงละแงเป็นแม่ทัพถือพลสี่พันยกลงมาจะตีกรุงศรีสัตนาคนหุต ทัพพม่ามาถึงกลางทางพระเจ้าล้านช้างได้ทราบข่าวศึกจึงแต่งท้าวเพี้ยให้นำเครื่อง บรรณาการไปให้แก่แม่ทัพพม่าขอขึ้นแก่กรุงอังวะ ให้กองทัพยกไปตีพระวอณเมืองหนองบัวลำภูซึ่งเป็นกบฎแก่กรุงศรีสัตนาคนหุต แล้วนำทัพพะม่ามาพักพล ณ เมืองล้านช้าง พระเจ้าล้านช้างแต่งต้อนรับแม่ทัพพม่าแล้วจัดแจงกองทัพเข้าบรรจบทัพพม่า แมงละแงแม่ทัพก็ยกทัพพม่าทัพลาวไปตีเมืองหนองบัวลำภู พระวอ ต่อสู้เหลือกำลังก็ทิ้งเมืองเสียพาครอบครัวอพยพแตกหนีไปตั้งอยู่ตำบลดอนมดแดงเหนือเมืองจัมปาศักดิ์ แล้วแต่งท้าวเพี้ยถือใบบอกแลเครื่องบรรณาการมาถึงพระยานครราชสีมา ขอเป็นเมืองขึ้นข้าขอบขัณฑสีมากรุงเทพมหานครศรีอยุธยา เอาพระเดชานุภาพสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวเป็นที่พึ่งพำนักสืบไป พระยานครราชสีมาก็บอกส่งทูตแลศุภอักษร เครื่องบรรณาการลงมายังกรุงธนบุรี สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวก็พระราชทานสิ่งของตอบแทนไปแก่พระวอ แล้วโปรดให้ตั้งบ้านเรือนอยู่ณดอนมดแดงนั้น…”[8]

ต่อมาในปี พ.ศ. 2321 พระเจ้าศิริบุญสารได้ยกกองทัพมารุกรานพระวอ และปราบพระวอได้ เมื่อพระเจ้ากรุงธนบรีทราบ โปรดสั่งให้เจ้าพระยาจักรียกกองทัพไปมาช่วยพระวอ แล้วยกกองทัพติดตามเข้าโจมตีเมืองเวียงจันทน์จนได้ชัยชนะ และได้นำพระแก้วมรกตซึ่งพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชนำไปจากเมืองเชียงใหม่กลับมาคืนสู่เมืองไทยดังเดิม พระยาจักรีได้รับบำเหน็จความชอบเป็น “เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก” กรุงเวียงจันทน์ได้ตกเป็นเมืองขึ้นของไทยในฐานะเมืองประเทศราช และเมือง “นครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน” จึงได้ขึ้นกับราชอาณาจักรไทยตั้งแต่บัดนั้นมาจนถึงปัจจุบัน โดยพระราชพงศาวดารกรุงธนบุรีระบุว่า

“…ฝ่ายพระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุตได้ทราบข่าวพระวอยกลงไปตั้งเมืองอยู่ ณ ดอนมดแดง จึงแต่งให้พระยาสุโภเป็นนายทัพยกพลทหารลงมาตีเมืองดอนมดแดง จับตัวพระวอได้ให้ประหารชีวิตเสีย แล้วก็เลิกกองทัพกลับไปเมืองล้านช้าง ฝ่ายท้าวก่ำบุตรพระวอแล้วท้าวเพี้ยทั้งปวงจึงบอกหนังสือมาถึงพระยานครราชสีมาว่ากองทัพเมืองล้านช้างยกมาตีเมืองดอนมดแดงแตกฆ่าพระวอเสีย ข้าพเจ้าทั้งปวงมีกำลังน้อยสู้รบตอบแทนมิได้ จะขอทัพกรุงเทพมหานครยกไปตีเมืองล้านช้างแก้แค้น พระยานครราชสีมาก็บอกลงมายังกรุงธนบุรีกราบบังคมทูลพระกรุณาให้ทราบ สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวก็ทรงพระพิโรธดำรัสว่า พระวอเป็นข้าขอบขัณฑสีมาเมืองเรา แลพระยาล้านช้างมิได้ยำเกรงทำอำนาจมาตีบ้านเมืองแลฆ่าพระวอเสียฉะนี้ ควรเราจะยกกองทัพไปตีเมืองล้านช้างให้ยับเยินตอบแทนแก้แค้นให้จงได้ ครั้น ณ เดือนอ้ายปีจอ สัมฤทธิศก จงมีพระราชดำรัสให้สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกเป็นแม่ทัพ กับเจ้าพระยาสุรสีห์ แลท้าวพระยามุขมนตรีผู้ใหญ่ผู้น้อยทั้งในกรุงแลหัวเมืองเป็นอันมาก พลทหารสองหมื่นสรรพด้วยช้างม้าเครื่องสรรพาวุธพร้อมเสร็จ ให้ยกกองทัพไปตีกรุงศรีสัตนาคนหุต คือเมืองล้านช้าง…”

Similar Posts

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *