รับซื้อโน๊ตบุ๊ค

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค มุกดาหาร

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค มุกดาหาร บริการรับซื้อถึงที่ ให้ราคาสูงที่สุด รับซื้อโน๊ตบุ๊คมือสอง

สวัสดีครับวันนี้เรามาแนะนำทีมงาน รับซื้อโน๊ตบุ๊ค ในจังหวัดมุกดาหาร ที่ให้ราคาสูงที่สุดและยังมีบริการไปรับถึงหน้าบ้านของท่าน 

เพียงแอดไลน์แอด @webuy  มีตัว @ ด้วย ท่านสามารถส่งรูปโน๊ตบุ๊ค ให้ทีมงานตีราคาก่อนได้เลย

หรือโทรด่วน 064-257-9353  คุณโน๊ต

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค acer อุบลรับซื้ออุบล

เราพร้อมจะประสานงานทีมงานเพื่อไป รับซื้อโน๊ตบุ๊ค ของท่านถึงที่

****    ที่สำคัญ เราไม่รับของโจร ของผิดกฏหมายทุกกรณี     ****

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอคำชะอี,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอนิคมคำสร้อย,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอดอนตาล,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอดงหลวง,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอหว้านใหญ่,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอหนองสูง

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค,รับซื้อโน๊ตบุ๊คมุกดาหาร,รับซื้อคอมมุกดาหาร ,รับซื้อมือถือมุกดาหาร,รับซื้อไอโฟนมุกดาหาร,รับซื้อไอแพดมุกดาหาร,รับซื้อกล้องมุกดาหาร,รับซื้อลำโพงมุกดาหาร,รับซื้อทีวีมุกดาหาร ,รับซื้อ notebook มุกดาหาร, รับซื้อ macbook มุกดาหาร,รับซื้อ iphone มุกดาหาร , รับซื้อ ipad มุกดาหาร , รับซื้อ computer มุกดาหาร , รับซื้อ server มุกดาหาร

ขั้นตอนในการ ขายโน๊ตบุ๊ค ง่ายๆ  

1 แอดไลน์ @webuy ส่งรูปให้ทีมงานตีราคา รับซื้อโน๊ตบุ๊ค มุกดาหาร

2 ตกลงซื้อขายราคากันได้สำเร็จ ทีมงานแจ้งนัดเวลาที่เข้ารับซื้อโน๊ตบุ๊ต

3 ทีมงานเข้าตรวจสอบโน๊ตบุ๊คของท่านว่าเป็นไปตรงตามที่ตกลงกันไว้หรือไม่

4  ตกลงซื้อขายแลกเปลี่ยนกันได้รับเงินสดทันที

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค

ขายโน๊ตบุ๊คกับเราดียังไง ทำไมต้องขายกับเรา รับซื้อโน๊ตบุ๊คมุกดาหาร

เรามีบริการรับซื้อถึงที่ ให้ราคาสูงที่สุด สามารถประเมินราคาก่อนตกลงซื้อขายกันได้ ถ้าพอใจในราคาจึงตกลงซื้อขายกันครับ

เรารับได้ไม่อั้น มี 1 เครื่องก็รับ มี 100 เครื่องเราก็รับ

ไม่ต้องเทียบราคาที่อื่นยาก เราให้สูงที่สุด พอใจในราคาตกลงกันได้เลย

แอดไลน์ @webuy ( มีตัว @ ด้วย ) หรือโทร 064-2579353 แนะนำให้ติดต่อผ่านไลน์

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค ยโสธร

จังหวัดไหนบ้างที่เรามีบริการ รับซื้อโน๊ตบุ๊ค

เรารับซื้อ.com กำลังขยายเขตการ รับซื้อโน๊ตบุ๊ค มือสองให้ครอบคลุมทั่วภาคอีสาน ในขณะนี้เราสามารถรับซื้อได้ในทุกจังหวัดในภาคอีสาน โดยทีมงานมืออาชีพ

หนองคาย นครพนม สกลนคร อุดรธานี หนองบัวลำภู เลย มุกดาหาร กาฬสินธุ์ ขอนแก่น อำนาจเจริญ ยโสธร ร้อยเอ็ด มหาสารคาม ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค ขอนแก่น ต้องการขายโน๊ตบุ๊ค เพียงแอดไลน์ @webuy ส่งรูปโน๊ตบุ๊ค ตีราคา ตกลงขายกันได้ทันที รับซื้อโน๊ตบุ๊คทุกจังหวัด รับซื้อโน๊ตบุ๊ค จังหวัดมุกดาหาร

 

รับซื้อโน๊ตบุ๊คหนองคาย,รับซื้อโน๊ตบุ๊คนครพนม, รับซื้อโน๊ตบุ๊คสกลนคร, รับซื้อโน๊ตบุ๊คอุดรธานี ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คหนองบัวลำภู ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คเลย ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คมุกดาหาร ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คกาฬสินธุ์, รับซื้อโน๊ตบุ๊คขอนแก่น ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คอำนาจเจริญ, รับซื้อโน๊ตบุ๊คยโสธร,รับซื้อโน๊ตบุ๊คร้อยเอ็ด, รับซื้อโน๊ตบุ๊คมหาสารคาม ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คชัยภูมิ, รับซื้อโน๊ตบุ๊คนครราชสีมา ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คบุรีรัมย์, รับซื้อโน๊ตบุ๊คสุรินทร์,รับซื้อโน๊ตบุ๊คศรีสะเกษ ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คอุบลราชธานี

ความแตกต่างในโน๊ตบุ๊ค แต่ละแบบ

โน้ตบุ๊คแต่ละแบบมักจะแตกต่างกันตามลักษณะการใช้งาน สเปคที่มี และการออกแบบ ต่อไปนี้คือบางประเภทที่แตกต่างกันได้:

  1. ขนาดและน้ำหนัก: โน้ตบุ๊คมีขนาดและน้ำหนักที่แตกต่างกัน เริ่มตั้งแต่โน้ตบุ๊คเล็กที่สุดที่มีขนาดน้อยและน้ำหนักเบาสำหรับความสะดวกในการพกพา ไปจนถึงโน้ตบุ๊คที่มีขนาดใหญ่และน้ำหนักมากสำหรับการใช้งานที่ต้องการประสิทธิภาพสูง ซึ่งมักมีการเพิ่มพลังประมวลผล การ์ดจอ และอุปกรณ์เสริมอื่น ๆ
  2. สเปคของฮาร์ดแวร์: สเปคฮาร์ดแวร์ของโน้ตบุ๊คอาจแตกต่างกันไปตามการใช้งานที่ต้องการ เช่น โน้ตบุ๊คสำหรับการทำงานทั่วไปอาจมีฮาร์ดแวร์ที่น้อยกว่าโน้ตบุ๊คสำหรับเล่นเกม โดยมีความสำคัญในสเปคเช่น ชิปเซ็ต (CPU), การ์ดจอ (GPU), หน่วยความจำ (RAM), และพื้นที่จัดเก็บข้อมูล (Storage)
  3. การออกแบบและคุณสมบัติพิเศษ: โน้ตบุ๊คอาจมีคุณสมบัติพิเศษที่แตกต่างกัน เช่น บางโน้ตบุ๊คอาจมีจอที่สามารถหมุนได้ หรือมีการออกแบบที่ทนทานต่อการใช้งานภายนอก
  4. ระบบปฏิบัติการและซอฟต์แวร์ที่มากับโน้ตบุ๊ค: บางโน้ตบุ๊คอาจมีระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกัน เช่น Windows, macOS, หรือ Linux และมีซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ที่มากับโน้ตบุ๊คตามความเหมาะสมของผู้ผลิต
  5. ราคา: ราคาของโน้ตบุ๊คมักจะแตกต่างกันอย่างมากตามสเปคและคุณลักษณะพิเศษที่มี โดยโน้ตบุ๊คที่มีสเปคสูงและคุณลักษณะพิเศษมักจะมีราคาสูงกว่าโน้ตบุ๊คที่มีสเปคต่ำและคุณลักษณะน้อยลง

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค HP อุบลราชธานี

ประวัติจังหวัด มุกดาหาร

มุกดาหาร เป็นจังหวัดชายแดน อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทยตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร และอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน2 ห่างจาก จังหวัดนครพนม ประมาณ 108 กิโลเมตร และ ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 650 กิโลเมตร แยกออกมาจากจังหวัดนครพนมเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2525 นับเป็นจังหวัดที่ 73 ของประเทศไทย เป็นจังหวัดท่องเที่ยวสำคัญของอิสานภูมิประเทศติดกับแม่น้ำโขง หอแก้วมุกดาหารและสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติมากมาย

ประวัติศาสตร์

ส่วนนี้ต้องเรียบเรียงภาษาใหม่ หรือต้องพิสูจน์อักษร
กรุงศรีสัตนาคนหุตล้านช้างเวียงจันทน์ ภายหลังจากที่พระยาสุริยวงศาสิ้นพระชนม์ กรุงเวียงจันทน์เกิดการระส่ำระสายแย่งชิงอำนาจราชสมบัติกัน ฝ่ายยึดอำนาจได้ก็ปราบปรามฝ่ายตรงข้ามให้หมดสิ้นไป กลุ่มพระยาแสน (พญาเมืองจันทน์) ยึดครองเวียงจันทน์ได้ เจ้าศรีวิชัย กษัตริย์อาณาจักร์ล้านช้าง พระองค์ที่ 30 (พ.ศ. 2176-2179 รวมระยะเวลาครองราชย์ได้ 3 ปี) พระราชนัดดาในพระเจ้าวรวงศาธรรมิกราช กษัตริย์ล้านช้าง พระองค์ที่ 26 ไม่สามารถครองราชย์ต่อได้ เนื่องจากเกิดการยึดอำนาจ พระองค์จึงพร้อมด้วยเชื้อพระวงศ์หลบหนีภัยไปพึ่งบารมีอยู่กับ “เจ้าราชครูโพนสะเม็ก” หรือ “ญาคูขี้หอม” ซึ่งเป็นพระเถระผู้ใหญ่ของกรุงเวียงจันทน์ ในสมัยนั้นเทียบเท่ากับสมเด็จพระสังฆราช มีคนเคารพนับถือสักการะมากที่สุด อยู่ที่วัด “โพนสะเม็ก” ใกล้กรุงเวียงจันทน์ ในการหลบหนีครั้งนี้ เจ้าศรีวิชัยได้นำบุตรไปด้วย 2 คน คือ

๑. เจ้าแก้วมงคล ได้บวชเรียนเป็นพระภิกษุ เรียนพระอรรถธรรมกัมมัฎฐานจนแตกฉานแล้วสึกออกมา จนคนเรียกว่า “อาจารย์แก้ว” หรือ “แก้วบูโฮม”

๒. เจ้าจันทร์สุริยวงศ์

ภายหลังจากการอพยพมาพึ่งเจ้าราชครูหลวง เหล่าเชื้อพระวงศ์ที่หนีราชภัย จึงมีการเปลี่ยนพระนามเพื่อหลีกเลี่ยงการตกเป็นเป้าหมายถูกลอบสังหารจากฝ่ายยึดอำนาจ

พระยาแสนเจ้าผู้ครองนครเวียงจันทน์ ได้คิดที่จะกำจัดเชื้อพระวงศ์ของพระสุริยวงศาที่หนีกันมาพึ่งบารมีของเจ้าราชครูโพนสะเม็กอยู่ตลอดเวลา รวมทั้งเจ้าราชครูฯ ซึ่งมีผู้ให้ความเคารพนับถือมากด้วย และเนื่องจากโพนสะเม็กและกรุงเวียงจันทน์อยู่ใกล้กันมาก เจ้าราชครูโพนสะเม็กเกรงว่าเชื้อพระวงศ์ที่อพยพมาพึ่งบารมีจะได้รับอันตราย จึงวางแผนการอพยพออกจากรุงเวียงจันทน์ไปทางใต้เพื่อหาที่อยู่ใหม่

พ.ศ. 2232 เจ้าราชครูหลวงโพนสะเม็ก ได้ขออนุญาตพระยาเมืองแสนเดินทางไปบูรณปฏิสังขรณ์ “พระธาตุพนม” ซึ่งชำรุดมาก ในการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งนี้จะได้นำชาวเวียงจันทน์และช่าง จำนวน 3,000 คน ร่วมเดินทางไปด้วย เมื่อได้รับอนุญาตก็พากันอพยพเดินทางล่องน้ำโขงมาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ดอนโขง ในการอพยพคราวนี้เชื้อพระวงศ์ก็ได้หลบหนีออกมาด้วย ครั้นเดินทางมาถึงพระธาตุพนมก็เริ่มลงมือบูรณะพระธาตุพนมในปี พ.ศ. 2233

ในการบูรณปฏิสังขรณ์พระธาตุพนมคราวนี้นั้น เจ้าราชครูโพนสะเม็กได้บูรณะตั้งแต่ขั้นที่ 2 ขึ้นไปจนสุดยอดพระธาตุ เล่ากันว่า เจ้าราชครูโพนสะเม็กได้ไปขุดเอาโลหะชนิดหนึ่งคล้ายตะกั่วหรือเงิน ซึ่งไทยล้านช้างเรียกเหล็กเปียก ไทยใต้เรียกเหล็กไหล มาเป็นโลหะหล่อเป็นโบกสวมลงในปูนที่ยอดพระธาตุ สถานที่ขุดนั้นอยู่ที่ภูเหล็กใกล้บ้านดอนข้าวหลาม ตำบลน้ำก่ำ อำเภอธาตุพนม อยู่ทางใต้ของพระธาตุพนม ประมาณ 8 กม. ปัจจุบันยังมีหลุมและรอยขุดอยู่ ภูนั้นเป็นภูเขาศิลาแลงเตี้ยเป็นเนินสูงจากทุ่งนา

พ.ศ. 2336 หลังจากที่ เจ้าราชครูโพนสะเม็ก บูรณะพระธาตุพนมเสร็จแล้วก็ได้แบ่งครอบครัวจำนวนหนึ่งให้อยู่อุปัฎฐากพระธาตุ นอกนั้นก็อพยพไปทางใต้ตามลำน้ำโขงเพื่อตั้งบ้านเรือนต่อไป กล่าวถึง นางเภา และ นางแพง(แม่ญิง) ผู้ครองเมืองกาลจำบากนาคบุรีศรี ได้ทราบข่าวว่าเจ้าราชครูโพนสะเม็กพำนักอยู่ที่เกาะแดง ท่านเป็นพระเถระที่มีคนเคารพสักการะมาก ไปที่ใดก็สร้างพระพุทธรูปวิหหาร เกิดความศรัทธาเลื่อมใส จึงพร้อมด้วยท้าวพญาแสน ไปนิมนต์อาราธนาท่านขอให้พำนักอยู่ที่เมืองเพื่อทำนุบำรุงศาสนาให้ถาวรรุ่งเรืองต่อไป ท่านราชครูโพนสะเม็กก็ไม่ขัดศรัทธา ครั้นอยู่ต่อมานางแพงพร้อมด้วยมุขมนตรีประชาราษฎรทั้งปวงมีความเลื่อมใสศรัทธาและเคารพนับถือเจ้าราชครูฯมากยิ่งขึ้น จึงพร้อมกันถวายทั้งพุทธจักรและอาณาจักรให้ราชครูฯ ปกครองทั้งสิ้น นครจำบากนาคบุรีศรีเป็นพระปกครอง

พ.ศ. 2256 ท่านราชครูฯ ได้ใช้วิธีปกครองโดยทางธรรมแต่ไม่สำเร็จเรียบร้อย การชำระความตามอาญาแผ่นดินก็จะผิดวินัยพระ เมื่อพิจารณาแล้วจึงเห็นว่า เจ้าหน่อกษัตริย์ ซึ่งเป็นอนุชาของพระเจ้าองค์หล่อ หรือ พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 (อพยพหลบหนีเมื่อคราวมาบูรณะพระธาตุพนม) เป็นเชื้อกษัตริย์กรุงเวียงจันทน์โดยแท้จริง จึงได้เชิญมาเป็นประมุขฝ่ายอาณาจักร ถวายนามว่า “เจ้าสร้อยศรีสมุทรพุทธางกูร” และเปลี่ยนชื่อเมืองใหม่จาก กาลจำบากนาคบุรี เป็น “นครจำปาศักดิ์” แยกออกจากอาณาเขตของกรุงเวียงจันทน์

เมื่อ “เจ้าสร้อยศรีสมุทรพุทธางกูร”ได้ปกครองนครจำปาศักดิ์แล้ว ก็มอบอำนาจให้เจ้าราชครูหลวงโพนสะเม็กมีอำนาจฝ่ายพุทธจักรปกครองสงฆ์ที่นครจำปาศักดิ์ จนท่านราชครูหลวงฯ อายุได้ 90 ปี ก็มรณภาพโดยโรคชรา (พ.ศ. 2263)

ต่อมา พระเจ้าสร้อยศรีสมุทรพุทธางกูร ได้แต่งตั้งให้ เจ้าแก้วมงคลอพยพไพร่พลลงไปสร้างเมืองท่งศรีภูมิ ต่อมาคือเมืองสุวรรณภูมิราชบุรียประเทษราช (อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ดในปัจจุบัน) ซึ่งต่อมาลูกหลานของท่านได้แยกออกไปปกครองหัวเมืองอีสานหลายหัวเมืองทั่วภาคอีสาน เช่น เมืองร้อยเอ็ด มหาสารคาม ศรีสะเกษ ชนบท ขอนแก่น เป็นต้น ส่วนเจ้าจันทรสุริยวงศ์ให้อพยพไพร่พลไปสร้างเมืองหลวงโพนสิมร้างที่เมืองสุวรรณเขต อยู่แถวบริเวณพระธาตุอิงฮัง (แขวงสุวรรณเขตในปัจจุบัน) ซึ่งตรงกับปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา [3][4]

ภายหลังจากเจ้าจารย์จันทสุริยวงศ์พิราลัยแล้ว พระโอรสทั้ง 2 พระองค์ได้แยกย้ายกันออกไปปกครองบ้านเมืองแถบริมฝั่งแม่น้ำโขงและแผ่นดินภาคอีสาน ได้แก่ เจ้าราชาบุตรโคตร (ท้าวราชบุตรโคตร) ได้อพยพไพร่พลจากเวียงดงเขนยและเมืองแก้งกอก ฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง มาตั้งเมืองที่บ้านดอนตาล เรียกว่า เมืองดอนตาล) และ ฝ่ายพระอนุชาคือ เจ้าจันทกินนรี (ท้าวกินรี) ได้ครองเมืองโพนสิมต่อจากพระบิดา จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2310 ได้มีนายพรานในหมู่บ้านข้ามลำน้ำโขงมาทางฝั่งขวาของปากห้วยบังมุก และได้พบเมืองร้าง วัดร้าง และต้นตาลจำนวน 7 ยอดอยู่ริมฝั่งโขง เห็นว่าเป็นทำเลที่อุดมสมบูรณ์กว่าบริเวณฝั่งซ้ายที่พวกตนอาศัยอยู่มาก เนื่องจากอุดมไปด้วยปลา ที่ดิน และทรัพยากรต่าง ๆ จึงกลับไปรายงานให้เจ้าจันทกินรีทราบ เจ้าจันทกินรีจึงพาพรรคพวกข้ามน้ำโขงมาและพิเคราะห์ดูว่าที่ตั้งบริเวณนี้คงเป็นเมืองโบราณมาก่อน และประทับใจในความอุดมสมบูรณ์เหมาะที่จะตั้งถิ่นฐาน จึงได้พากันอพยพจากบ้านหลวงโพนสินมาตั้งบ้านเรือนอยู่ทางฝั่งขวาแม่น้ำโขงบริเวณปากห้วยบังมุกที่นายพรานเป็นผู้พบ[5][6]

ในขณะที่กำลังจัดเตรียมพื้นที่เพื่อตั้งเมืองใหม่ ได้พบพระพุทธรูป 2 องค์อยู่ใต้ต้นโพธิ์ริมฝั่งโขง พระพุทธรูปองค์ใหญ่เป็นพระพุทธรูปก่ออิฐถือปูน ส่วนพระพุทธรูปองค์เล็กเป็นพระพุทธรูปโลหะหล่อด้วยเหล็กเนื้อดี จึงได้พร้อมกันสร้างวัดขึ้นใหม่ในบริเวณวัดร้างริมฝั่งโขง และขนานนามว่า วัดศรีมุงคุณ (ศรีมงคล) รวมทั้งก่อสร้างกุฏิวิหารขึ้น พร้อมอัญเชิญพระพุทธรูปทั้งสององค์ขึ้นไปประดิษฐานบนพระวิหาร แต่ปรากฏว่าพระพุทธรูปองค์เล็ก เกิดปาฎิหาริย์กลับลงไปประดิษฐานอยู่ใต้ต้นโพธิ์ที่ตั้งเดิมหลายครั้ง และค่อย ๆ จมหายลงไปใต้ดิน คงเห็นแต่ยอดพระเกศโผล่ขึ้นมาให้เห็น จึงมีการสร้างแท่นสักการะบูชาครอบไว้ในบริเวณนั้น และขนานนามพระพุทธรูปองค์นั้นว่า พระหลุบเหล็ก ปัจจุบันบริเวณที่พระหลุบเหล็กจมดินได้ถูกกระแสน้ำเซาะตลิ่งโขงพังลงไปหมดแล้ว (คงเหลือแต่แท่นสักการะบูชาที่ยกเข้ามาเก็บรักษาไว้หน้าพระวิหารของวัดศรีมงคลใต้ในปัจจุบัน)

ส่วนพระพุทธรูปองค์ใหญ่ที่ก่ออิฐถือปูน ชาวเมืองได้ขนานนามว่า “พระเจ้าองค์หลวง” เป็นพระประธานของวัดศรีมุงคุณ ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนเป็น วัดศรีมงคลใต้ ถือเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดมุกดาหารนับแต่นั้นมา

ในเวลาต่อมา มักมีผู้พบเห็นแก้วดวงหนึ่งมีสีสดใสเป็นประกายลอยออกจากต้นตาลริมฝั่งโขง และลอยไปตามลำน้ำโขงทุกคืน จนถึงช่วงใกล้สว่างจึงลอยกลับมาที่ต้นตาลเช่นเดิม เจ้าจันทกินรีจึงได้ขนานนามแก้วดวงนี้ว่า แก้วมุกดาหาร เนื่องจากได้ตั้งเมืองขึ้นริมฝั่งโขงตรงปากห้วยบังมุกอีกทั้งได้มีผู้พบเห็นไข่มุกในแม่น้ำโขงอีกด้วย และให้ขนานนามเมืองที่ตั้งขึ้นใหม่นี้ว่า เมืองมุกดาหาร ตั้งแต่เดือน 4 ปีกุน จุลศักราช 1132 (พ.ศ. 2313) มีอาณาเขตครอบคลุมทั้งสองฝั่งของแม่น้ำโขงรวมถึงแขวงสุวรรณเขตของประเทศลาว

ครั้นถึงสมัยอาณาจักรธนบุรี สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีได้แผ่แสนยานุภาพขึ้นมาถึงแถบลุ่มแม่น้ำโขง กระทั่ง พ.ศ. 2321 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก และเจ้าพระยาจักรียกกองทัพขึ้นมาปราบปรามและรวบรวมหัวเมืองใหญ่น้อยในสองฝั่งแม่น้ำโขง และได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งให้ เจ้าจันทกินรี เป็น พระยาจันทรศรีสุราชอุปราชามันธาตุราช ดำรงตำแหน่งเจ้าเมืองมุกดาหารคนแรก

เดิมทีเมืองมุกดาหารเคยเป็นส่วนหนึ่งของมณฑลอุดร[7] ก่อนจะกลายเป็นอำเภอหนึ่งในเมืองนครพนมใน พ.ศ. 2450[8] (ต่อมาได้เปลี่ยนคำว่าเมืองเป็นจังหวัดใน พ.ศ. 2459) และได้แยกออกเป็น จังหวัดมุกดาหาร อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2525

ใน พ.ศ. 2549 สะพานมิตรภาพไทย–ลาว 2 ซึ่งเป็นสะพานข้ามแม่น้ำโขง เชื่อมต่อจังหวัดมุกดาหารของไทยและแขวงสุวรรณเขตของประเทศลาวได้เปิดดำเนินการ

Similar Posts

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *