รับซื้อโน๊ตบุ๊ค

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค กาฬสินธุ์ บริการรับซื้อถึงที่ ให้ราคาสูงที่สุด

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค กาฬสินธุ์ บริการรับซื้อถึงที่ ให้ราคาสูงที่สุด รับซื้อโน๊ตบุ๊คมือสอง

สวัสดีครับวันนี้เรามาแนะนำทีมงาน รับซื้อโน๊ตบุ๊ค ในจังหวัดกาฬสินธุ์ ที่ให้ราคาสูงที่สุดและยังมีบริการไปรับถึงหน้าบ้านของท่าน 

เพียงแอดไลน์แอด @webuy  มีตัว @ ด้วย ท่านสามารถส่งรูปโน๊ตบุ๊ค ให้ทีมงานตีราคาก่อนได้เลย

หรือโทรด่วน 064-257-9353  คุณโน๊ต

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค acer อุบลรับซื้ออุบล

เราพร้อมจะประสานงานทีมงานเพื่อไป รับซื้อโน๊ตบุ๊ค ของท่านถึงที่

****    ที่สำคัญ เราไม่รับของโจร ของผิดกฏหมายทุกกรณี     ****

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอเมืองกาฬสินธุ์,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอนามน,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอกมลาไสย,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอร่องคำ,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอกุฉินารายณ์,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอเขาวง,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอยางตลาด,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอห้วยเม็ก,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอสหัสขันธ์,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอคำม่วง,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอท่าคันโท,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอหนองกุงศรี,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอสมเด็จ,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอห้วยผึ้ง,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอสามชัย,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอนาคู,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอดอนจาน,รับซื้อโน๊ตบุ๊ค อำเภอฆ้องชัย

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค,รับซื้อโน๊ตบุ๊คกาฬสินธุ์,รับซื้อคอมกาฬสินธุ์ ,รับซื้อมือถือกาฬสินธุ์,รับซื้อไอโฟนกาฬสินธุ์,รับซื้อไอแพดกาฬสินธุ์,รับซื้อกล้องกาฬสินธุ์,รับซื้อลำโพงกาฬสินธุ์,รับซื้อทีวีกาฬสินธุ์ ,รับซื้อ notebook กาฬสินธุ์, รับซื้อ macbook กาฬสินธุ์,รับซื้อ iphone กาฬสินธุ์ , รับซื้อ ipad กาฬสินธุ์ , รับซื้อ computer กาฬสินธุ์ , รับซื้อ server กาฬสินธุ์

ขั้นตอนในการ ขายโน๊ตบุ๊ค ง่ายๆ  

1 แอดไลน์ @webuy ส่งรูปให้ทีมงานตีราคา รับซื้อโน๊ตบุ๊ค กาฬสินธุ์

2 ตกลงซื้อขายราคากันได้สำเร็จ ทีมงานแจ้งนัดเวลาที่เข้ารับซื้อโน๊ตบุ๊ต

3 ทีมงานเข้าตรวจสอบโน๊ตบุ๊คของท่านว่าเป็นไปตรงตามที่ตกลงกันไว้หรือไม่

4  ตกลงซื้อขายแลกเปลี่ยนกันได้รับเงินสดทันที

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค

ขายโน๊ตบุ๊คกับเราดียังไง ทำไมต้องขายกับเรา รับซื้อโน๊ตบุ๊คกาฬสินธุ์

เรามีบริการรับซื้อถึงที่ ให้ราคาสูงที่สุด สามารถประเมินราคาก่อนตกลงซื้อขายกันได้ ถ้าพอใจในราคาจึงตกลงซื้อขายกันครับ

เรารับได้ไม่อั้น มี 1 เครื่องก็รับ มี 100 เครื่องเราก็รับ

ไม่ต้องเทียบราคาที่อื่นยาก เราให้สูงที่สุด พอใจในราคาตกลงกันได้เลย

แอดไลน์ @webuy ( มีตัว @ ด้วย ) หรือโทร 064-2579353 แนะนำให้ติดต่อผ่านไลน์

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค ยโสธร

จังหวัดไหนบ้างที่เรามีบริการ รับซื้อโน๊ตบุ๊ค

เรารับซื้อ.com กำลังขยายเขตการ รับซื้อโน๊ตบุ๊ค มือสองให้ครอบคลุมทั่วภาคอีสาน ในขณะนี้เราสามารถรับซื้อได้ในทุกจังหวัดในภาคอีสาน โดยทีมงานมืออาชีพ

หนองคาย นครพนม สกลนคร อุดรธานี หนองบัวลำภู เลย มุกดาหาร กาฬสินธุ์ ขอนแก่น อำนาจเจริญ ยโสธร ร้อยเอ็ด มหาสารคาม ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค ขอนแก่น ต้องการขายโน๊ตบุ๊ค เพียงแอดไลน์ @webuy ส่งรูปโน๊ตบุ๊ค ตีราคา ตกลงขายกันได้ทันที รับซื้อโน๊ตบุ๊คทุกจังหวัด รับซื้อโน๊ตบุ๊ค จังหวัดกาฬสินธุ์

 

รับซื้อโน๊ตบุ๊คหนองคาย,รับซื้อโน๊ตบุ๊คนครพนม, รับซื้อโน๊ตบุ๊คสกลนคร, รับซื้อโน๊ตบุ๊คอุดรธานี ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คหนองบัวลำภู ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คเลย ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คมุกดาหาร ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คกาฬสินธุ์, รับซื้อโน๊ตบุ๊คขอนแก่น ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คอำนาจเจริญ, รับซื้อโน๊ตบุ๊คยโสธร,รับซื้อโน๊ตบุ๊คร้อยเอ็ด, รับซื้อโน๊ตบุ๊คมหาสารคาม ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คชัยภูมิ, รับซื้อโน๊ตบุ๊คนครราชสีมา ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คบุรีรัมย์, รับซื้อโน๊ตบุ๊คสุรินทร์,รับซื้อโน๊ตบุ๊คศรีสะเกษ ,รับซื้อโน๊ตบุ๊คอุบลราชธานี

ความแตกต่างในโน๊ตบุ๊ค แต่ละแบบ

โน้ตบุ๊คแต่ละแบบมักจะแตกต่างกันตามลักษณะการใช้งาน สเปคที่มี และการออกแบบ ต่อไปนี้คือบางประเภทที่แตกต่างกันได้:

  1. ขนาดและน้ำหนัก: โน้ตบุ๊คมีขนาดและน้ำหนักที่แตกต่างกัน เริ่มตั้งแต่โน้ตบุ๊คเล็กที่สุดที่มีขนาดน้อยและน้ำหนักเบาสำหรับความสะดวกในการพกพา ไปจนถึงโน้ตบุ๊คที่มีขนาดใหญ่และน้ำหนักมากสำหรับการใช้งานที่ต้องการประสิทธิภาพสูง ซึ่งมักมีการเพิ่มพลังประมวลผล การ์ดจอ และอุปกรณ์เสริมอื่น ๆ
  2. สเปคของฮาร์ดแวร์: สเปคฮาร์ดแวร์ของโน้ตบุ๊คอาจแตกต่างกันไปตามการใช้งานที่ต้องการ เช่น โน้ตบุ๊คสำหรับการทำงานทั่วไปอาจมีฮาร์ดแวร์ที่น้อยกว่าโน้ตบุ๊คสำหรับเล่นเกม โดยมีความสำคัญในสเปคเช่น ชิปเซ็ต (CPU), การ์ดจอ (GPU), หน่วยความจำ (RAM), และพื้นที่จัดเก็บข้อมูล (Storage)
  3. การออกแบบและคุณสมบัติพิเศษ: โน้ตบุ๊คอาจมีคุณสมบัติพิเศษที่แตกต่างกัน เช่น บางโน้ตบุ๊คอาจมีจอที่สามารถหมุนได้ หรือมีการออกแบบที่ทนทานต่อการใช้งานภายนอก
  4. ระบบปฏิบัติการและซอฟต์แวร์ที่มากับโน้ตบุ๊ค: บางโน้ตบุ๊คอาจมีระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกัน เช่น Windows, macOS, หรือ Linux และมีซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ที่มากับโน้ตบุ๊คตามความเหมาะสมของผู้ผลิต
  5. ราคา: ราคาของโน้ตบุ๊คมักจะแตกต่างกันอย่างมากตามสเปคและคุณลักษณะพิเศษที่มี โดยโน้ตบุ๊คที่มีสเปคสูงและคุณลักษณะพิเศษมักจะมีราคาสูงกว่าโน้ตบุ๊คที่มีสเปคต่ำและคุณลักษณะน้อยลง

รับซื้อโน๊ตบุ๊ค HP อุบลราชธานี

ประวัติจังหวัด กาฬสินธุ์

กาฬสินธุ์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางหรือตอนบนของประเทศไทย อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 510 กิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์มากที่สุดจังหวัดหนึ่งในภาคอีสาน จากหลักฐานทางโบราณคดีบ่งบอกว่าเคยเป็นที่อยู่อาศัยของเผ่าละว้า ซึ่งมีความเจริญทางด้านอารยธรรมประมาณ 1,600 ปี

จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์เริ่มตั้งเป็นเมืองในสมัยรัตนโกสินทร์ เมื่อปี พ.ศ. 2336 โดยท้าวโสมพะมิตรได้อพยพหลบภัยมาจากดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง (เมืองศรีสัตตนาคนหุตล้านช้างร่มขาวเวียงจันทน์) พร้อมไพร่พล และมาตั้งบ้านเรือนอยู่ริมแม่น้ำปาว เรียกว่า “บ้านแก่งสำโรง” แล้วได้นำเครื่องบรรณาการเข้าถวายสวามิภักดิ์ต่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้ายกฐานะบ้านแก่งสำโรงขึ้นเป็นเมือง และพระราชทานนามว่า “เมืองกาฬสินธุ์” ซึ่งเป็นเมืองที่สำคัญทางประวัติศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณกาล กาฬ แปลว่า “ดำ” สินธุ์ แปลว่า “น้ำ” กาฬสินธุ์ จึงแปลว่า “น้ำดำ” (น้ำดำในที่นี้หมายถึง น้ำที่ใสสะอาดจนมองเห็นดินสีดำ ซึ่งดินดำเป็นดินที่อุดมสมบูรณ์ที่สุด) ทั้งมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งให้ท้าวโสมพะมิตรเป็นพระยาชัยสุนทร (โสมพะมิตร) ครองเมืองกาฬสินธุ์เป็นคนแรก

กาฬสินธุ์มีแหล่งซากไดโนเสาร์และซากดึกดำบรรพ์อื่น ๆ หลายแห่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอำเภอสหัสขันธ์ อีกทั้งยังมีชื่อเสียงด้านโปงลางและผ้าไหมแพรวา นอกจากนี้ยังมีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ ไม่ว่าจะเป็นลาว, เขมร, จีน, เวียดนาม, ภูไท, กะเลิง, ไทข่า, ไทดำ และญ้อ เป็นต้น

ประวัติ

สมัยก่อนประวัติศาสตร์-ยุคเหล็กตอนปลาย (พุทธศตวรรษที่ 3-7) พบร่องรอยการอยู่อาศัยในหลุมขุดค้นบริเวณโนนเมืองเก่า คือ ภาชนะดินเผาลายเขียนสีแดงบนพื้นครีม ซึ่งเป็นภาชนะที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายในบริเวณแอ่งสกลนครและแอ่งโคราช กำหนดอายุอยู่ในราว 2,200 – 1,800 ปีมาแล้ว และยังพบภาชนะที่ตกแต่งผิวด้วยการทาน้ำโคลนสีแดงด้วย มีการปลงศพด้วยการฝังยาว โดยวางศีรษะให้หันไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือทั้งหมด แต่มีทั้งแบบนอนหงายและนอนตะแคง ไม่พบการอุทิศสิ่งของให้ศพ

นอกจากนี้ยังพบร่องรอยของกิจกรรมการถลุงเหล็กด้วยเทคนิคโบราณทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของโนนเมืองเก่า และชุมชนในชั้นนี้ยังรู้จักการผลิตเครื่องประดับสำริดประเภทกำไล แหวน ต่างหู ซึ่งจากหลักฐานที่พบ คือ เบ้าดินที่มีคราบโลหะติดอยู่ และอุปกรณ์การหล่อในรูปของแม่พิมพ์ดินเผา ทำให้ทราบว่าเป็นการผลิตสำริดด้วยเทคนิค กระบวนการผลิตขั้นที่ 2 (secondary metallurgical operation) ไม่มีการถลุงเพื่อสกัดโลหะออกจากแร่ดิบ เพียงแต่นำเอาโลหะที่ผ่านการถลุงแล้วมาหลอมแล้วหล่อให้ได้รูปทรงตามต้องการด้วยวิธี lost wax process คือ ใช้ขี้ผึ้งทำแบบขึ้นมาก่อนแล้วเอาดินพอกจากนั้นให้ความร้อนเพื่อให้ขี้ผึ้งละลายและไหลออก จากนั้นจึงเอาโลหะหลอมละลายในเบ้าดินเผาเทลงแทนที่ เมื่อแข็งตัวแล้วจึงทุบแม่พิมพ์ออก กระบวนการผลิตแบบนี้พบในแหล่งโบราณคดียุคโลหะในแอ่งสกลนครและแอ่งโคราชทั่วไป เช่น บ้านเชียง บ้านนาดี เป็นต้น

สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น (พุทธศตวรรษที่ 7-12) ระยะนี้รู้จักการผลิตเครื่องมือเครื่องใช้จากเหล็ก ผลิตเครื่องประดับสำริดตลอดจนผลิตภาชนะดินเผารูปแบบต่างๆ โดยการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนมีการเผาทั้งแบบกลางแจ้งและเผาในเตาดินที่ควบคุมอุณหภูมิได้ แต่การเปลี่ยนแปลงที่เด่นชัดในช่วงนี้คือประเพณีการปลงศพซึ่งเปลี่ยนจากการฝังยาวมาเป็นการฝังโดยบรรจุกระดูกทั้งโครงหรือโครงกระดูกบางส่วนโดยไม่ผ่านการเผาลงในภาชนะดินเผา การปลงศพแบบนี้ถือว่าเป็นประเพณีที่แพร่หลายอยู่ในบริเวณลุ่มน้ำโขง ชี มูล ในช่วงหัวเลี้ยวประวัติศาสตร์

สมัยทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ 12-16) เป็นระยะที่มีการอาศัยอยู่หนาแน่นที่สุดเมื่อเทียบกับระยะอื่นๆ มีการประมาณกันไว้ว่าเมืองฟ้าแดดสงยางในยุคนี้มีประชากรราว 3,000 คนเลยทีเดียว[2] โดยพบเครื่องมือเหล็ก เครื่องประดับสำริดประเภทแหวน กำไล ลูกกระพรวน นอกจากนั้นยังพบลูกปัดแก้วสีเขียวอมฟ้า รวมทั้งลูกปัดหินอะเกต และหินคาร์เนเลียน ส่วนภาชนะดินเผาส่วนใหญ่จะเป็นหม้อมีสัน กาน้ำ (หม้อมีพวย) ตะคัน ตลอดจนได้พบแวดินเผา และเบี้ยดินเผาแบบต่างๆ อาจกล่าวได้ว่าโบราณวัตถุที่พบในชั้นนี้เหมือนกับโบราณวัตถุในวัฒนธรรมทวารวดีที่พบในแหล่งโบราณคดีสมัยทวารวดีในลุ่มน้ำเจ้าพระยา-ท่าจีน ซึ่งมีอายุอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 12-16

ในสมัยนี้ชุมชนเริ่มได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนาเข้ามาเช่นเดียวกับเมืองโบราณอื่นๆ ในสมัยเดียวกัน ซึ่งแพร่เข้ามาจากอินเดียในช่วงพุทธศตวรรษที่ 9-14 (สมัยคุปตะและปาละ) ดังปรากฏศาสนสถานที่มีลักษณะร่วมกันคือ เจดีย์ วิหารและอุโบสถ ซึ่งส่วนใหญ่จะก่อด้วยอิฐขนาดใหญ่ (มีความยาว 2 เท่าของความกว้าง) และไม่สอปูน แผนผังเจดีย์ที่นิยมในสมัยทวารวดีทั้งภาคกลางและอีสาน คือมีแปลนเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีบันไดทางขึ้นด้านเดียวหรือ 4 ด้าน มีการตกแต่งผนังอิฐด้วยการฉาบปูนแล้วประดับด้วยประติมากรรมปูนปั้นและดินเผา นอกจากนี้วัฒนธรรมการสร้างปริมากรรมรูปธรรมจักรลอยตัวยังพบที่เมืองฟ้าแดดสงยางแห่งนี้ด้วย

อย่างไรก็ตาม ประติมากรรมที่ถือว่าโดดเด่นที่สุดที่พบในชุมชนสมัยทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งไม่ใช่พระพุทธรูปหรือธรรมจักรที่นิยมในภาคกลาง คือ ใบเสมา ทั้งแบบที่มีภาพเล่าเรื่องและแบบที่ไม่มี ใบเสามาเหล่านี้อาจใช้ในการปักเขตแดนศาสนสถาน ซึ่งพบว่ามีจำนวนมากกว่า 14 แห่ง ( จำนวนที่ขุดแต่งครั้งแรกในปี 2510-2511)

ประติมากรรมในทางพระพุทธศาสนาที่น่าสนใจอีกประเภทคือ พระพิมพ์ดินเผา ซึ่งขุดพบที่เมืองโบราณแห่งนี้จำนวน 7 พิมพ์ด้วยกัน พิมพ์ที่พบมากที่สุด (83 องค์) ซึ่งอาจจะเป็นพิมพ์พื้นเมือง และแพร่หลายในเขตลุ่มน้ำชี เพราะพบที่เมืองโบราณคันธาระ อำเภอกันทรวิชัยด้วย คือ ปรางค์สมาธิบนฐานดอกบัว ส่วนพิมพ์ที่ถือว่าเป็นเอกลักษณ์พิเศษของพระพิมพ์ลุ่มน้ำชี คือ ปางธรรมจักร ซึ่งพบเฉพาะที่เมืองโบราณฟ้าแดดสงยางและเมืองโบราณคันธาระเท่านั้น ไม่ปรากฏในบริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยา

นอกจากนี้ยังพบหลักฐานการจารึกบนพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสงยางด้วย ซึ่งอักษรที่ใช้จารึกเป็นอักษรสมัยหลังปัลลวะ (พุทธศตวรรษที่ 14) ภาษามอญโบราณ ด้านบนมีเนื้อหากล่าวถึง พระเจ้าอาทิตย์ ส่วนด้านหลัง เป็นข้อความสั้นๆ กล่าวแต่เพียงสังเขปว่า “พระพิมพ์องค์นี้ ปิณญะอุปัชฌายาจารย์ ผู้มีคุณเลื่องลือไกล” ซึ่งก็อาจแปลความได้ว่า พระพิมพ์องค์นี้ ท่านปิณญะอุปัชฌาจารย์ เกจิผู้มีชื่อเสียงได้สร้างขึ้นไว้สำหรับให้สาธุชนได้รับไปบูชา[3]

สมัยลพบุรี (พุทธศตวรรษที่ 17-18) ตั้งแต่ช่วงพุทธศตวรรษที่ 17-18 เป็นต้นไปดูเหมือนว่าชุมชนโบราณแห่งนี้จะเริ่มเปลี่ยนค่านิยมเกี่ยวกับการปลงศพโดยนิยมการเผาแล้วเก็บอัฐิใส่โกศดินเผาไปฝังไว้ใต้ศาสนสถาน (บริเวณโนนฟ้าแดด) ดังที่พบผอบดินเผาเคลือบสีน้ำตาลอมเขียวที่ภายในบรรจุอัฐิ

สมัยอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 19-23) ช่วงนี้เองที่ชุมชนแห่งนี้มีการติดต่อกับชุมชนในภูมิภาคต่างๆ รวมทั้งภาคเหนือของไทยด้วย เครื่องถ้วยจีนสมัยราชวงศ์ซุ่ย หยวน หมิง ที่เป็นสินค้าสำคัญในบริเวณลุ่มแม่น้ำมูล-ชี และลุ่มน้ำเจ้าพระยาก็ปรากฏในเมืองโบราณแห่งนี้ด้วย สมัยนี้ยังพบว่ามีการอยู่อาศัยกันอย่างหนาแน่น มีการสร้างศาสนสถานแบบอยุธยาซ้อนทับฐานศาสนสถานแบบทวารวดีเกือบทุกแห่ง ที่เห็นร่องรอยเด่นชัดที่สุดในปัจจุบันคือ ฐานล่างของพระธาตุยาคู ซึ่งเป็นศิลปะสมัยทวารวดีที่มีเจดีย์เป็นแบบศิลปะสมัยอยุธยาสร้างซ้อนทับและมีการบูรณปฏิสังขรณ์สืบต่อมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์

ตามบันทึกประวัติศาสตร์ร่วมสมัย ในปี พ.ศ. 2336 บ้านแก่งสำโรงได้รับการสถาปนาเป็นเมืองกาฬสินธุ์ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โดยแยกเอาดินแดนเดิมที่เคยขึ้นต่อเมืองทุ่งศรีภูมิ(อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2256-พ.ศ. 2318 ซึ่งต่อมาเป็นเขตแดนของเมืองร้อยเอ็ด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2318-พ.ศ. 2336 เป็นต้นมา ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของจังหวัดกาฬสินธุ์ หลังจากเจ้าโสมพะมิตรได้รับการช่วยเหลือจาก พระขัติยะวงษา (สีลัง ธนสีลังกูร) เจ้าเมืองร้อยเอ็ด ซึ่งเป็นพระญาติอันมีเชื้อสายเจ้านายจากราชวงศ์ล้านช้าง บุตรหลานของเจ้าแก้วมงคล แห่งเมืองทุ่งศรีภูมิ ให้นำพาเข้าเฝ้าฯ ถวายสวามิภักดิ์ ต่อ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช หรือ รัชกาลที่1 โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณแต่งตั้งขึ้นเป็น “พระยาไชยสุนทร” เจ้าเมืองท่านแรกโดยให้รั้งเมืองสืบไป[3]

เมื่อ พ.ศ. 2437 เมื่อพระยาชัยสุนทร (ท้าวเก) เป็นเจ้าเมือง มีการเปลี่ยนรูปแบบการปกครองแบบให้เจ้าเมืองปกครองขึ้นตรงต่อกรุงเทพมหานคร มาเป็นรูปการปกครองแบบเทศาภิบาล มีมณฑล จังหวัด อำเภอ ตำบล และมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ตั้งให้เมืองร้อยเอ็ดเป็นจังหวัดร้อยเอ็ด บรรดาหัวเมืองต่าง ๆ ให้ยุบเป็นอำเภอ คือ เมืองกาฬสินธุ์ เป็นอำเภออุทัยกาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ จึงกลายเป็น “อำเภออุทัยกาฬสินธุ์” ขึ้นกับจังหวัดร้อยเอ็ด

เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2456 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ยกฐานะจังหวัดร้อยเอ็ดขึ้นเป็นมณฑล ยกฐานะอำเภออุทัยกาฬสินธุ์เป็นจังหวัดกาฬสินธุ์ ขึ้นต่อมณฑลร้อยเอ็ด และมีอำนาจปกครองอำเภออุทัยกาฬสินธุ์ อำเภอสหัสขันธ์ อำเภอกุฉินารายณ์ อำเภอกมลาไสย อำเภอยางตลาด โดยให้พระภิรมย์บุรีรักษ์เป็นปลัดมณฑลประจำจังหวัดกาฬสินธุ์

ต่อมาเกิดข้าวยากหมากแพง เศรษฐกิจของประเทศตกต่ำ การเงินฝืดเคือง จำเป็นต้องยุบจังหวัดต่าง ๆ ลงเพื่อให้สมดุลกับรายได้ของประเทศ จังหวัดกาฬสินธุ์จึงถูกยุบเป็นอำเภอขึ้นกับจังหวัดมหาสารคาม เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2474 และโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งอรรถเปศลสรวดี เป็นข้าหลวงประจำจังหวัดมหาสารคาม (แทนพระยามหาสารคามคณาภิบาลซึ่งออกรับบำนาญ) ครั้นเมื่อมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติระเบียบบริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2476 จึงได้ยกเลิกมณฑล

วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2490 ได้ยกฐานะเป็น “จังหวัดกาฬสินธุ์” จัดตั้งขึ้นโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดกาฬสินธุ์ พ.ศ. 2490 อันมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2490 จนถึงปัจจุบัน[4]

Similar Posts

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *